ข่าวสุขภาพ
ค้นหา รพ.-คลินิก-ร้านยาทั่วไทย ร้านยาคุณภาพของฉัน บริการสุขภาพ คลินิกเอกชน งาน รพ.
บริการวัคซีนโควิด บริการตรวจโควิด
ตำแหน่งงาน
ข่าวสุขภาพทั่วไป ข่าวธุรกิจสุขภาพไทย ข่าวธุรกิจสุขภาพรอบโลก กิจกรรม-บริการ รพ.ต่างๆ สิทธิสุขภาพชาวไทย สาระความรู้สุขภาพ Health Economy ท่องเที่ยวสุขภาพ กิจกรรม ESG CSR กิจกรรม Event บริจาค
น่าสนใจไทยแลนด์
English
About us เผยแพร่เนื้อหา สถิติเว็บไซต์ สำรวจความเห็นสุขภาพ โฆษณา
healthserv.net@gmail.com

พระราชกฤษฎีกากำหนดให้สาขาการกายอุปกรณ์เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะ

ให้สาขาการกายอุปกรณ์เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะ กำหนดคุณสมบัติผู้ขอขึ้นทะเบียน และรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขาการกายอุปกรณ์

คณะรัฐมนตรีอนุมัติตามมติคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 6 (ฝ่ายสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยาศาสตร์) ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรี (นายสุชัย เจริญรัตนกุล) เป็นประธานในการประชุม ครั้งที่ 3/2549 วันพุธที่ 22 มีนาคม 2549 ที่อนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกาการกำหนดให้สาขาการกายอุปกรณ์เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะ ตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 พ.ศ. …. ตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ และให้ส่งสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล้วดำเนินการต่อไปได้ โดยให้รับข้อสังเกตของคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ คณะที่ 6 ไปประกอบการพิจารณาด้วย

ร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดให้สาขาการกายอุปกรณ์เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะตามพระราชญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 พ.ศ. …. มีสาระสำคัญ ดังนี้
  1. กำหนดบทนิยาม
  2. ให้สาขาการกายอุปกรณ์เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะตามมาตรา 5 (5) แห่งพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542
  3. กำหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการกายอุปกรณ์ กำหนดลักษณะต้องห้าม การเลือกตั้ง การพ้นจากตำแหน่ง และอำนาจหน้าที่
  4. กำหนดคุณสมบัติผู้ขอขึ้นทะเบียน และรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขาการกายอุปกรณ์
  5. ให้บุคคลที่ได้รับประกาศนียบัตรต่ำกว่าปริญญาสาขาการกายอุปกรณ์ มายื่นคำขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตได้ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้

ทั้งนี้ กระทรวงสาธารณสุขรายงานว่า สาขาการกายอุปกรณ์เป็นสาขาหนึ่งที่มีการให้บริการผู้ป่วยที่ส่วนของร่างกายได้สูญหายไป หรือสูญเสียหน้าที่อันเนื่องมาจากความพิการแต่กำเนิดจากโรคหรืออุบัติเหตุ โดยการใช้กายอุปกรณ์เทียมเสริมหรือช่วยพยุง หากได้มีการกำหนดให้สาขาการกายอุปกรณ์เป็นสาขา การประกอบโรคศิลปะแล้วจะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนที่จะรับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพเฉพาะด้าน สมควรกำหนดให้สาขาการกายอุปกรณ์เป็นสาขาการประกอยโรคศิลปะตามมาตรา 5 (5) แห่งพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 ที่กำหนดให้การประกอบโรคศิลปะในสาขาอื่นที่เพิ่มขึ้นจะต้องกำหนดโดยพระรากฤษฎีกา จึงได้เสนอร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดให้สาขาการกายอุปกรณ์เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 พ.ศ. …. มาเพื่อดำเนินการ
 
วันที่ประกาศข่าว : 04 พ.ค. 2549

NHSO ทำเนียบเครือข่ายสหสขาวิชาชีพ สปสช+รายชื่อ


Main page

ทำเนียบเครือข่ายสหสขาวิชาชีพ

Google search - ผู้ประกอบโรคศิลปะกายอุปกรณ์


การขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขา กายอุปกรณ์ LINK

การขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขา กายอุปกรณ์ พระราชกฤษฎีกากำหนดให้สาขาการกายอุปกรณ์เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะ
การขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขา กายอุปกรณ์ พระราชกฤษฎีกากำหนดให้สาขาการกายอุปกรณ์เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะ
คู่มือส าหรับประชาชน : การขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขากายอุปกรณ์ หน่วยงานที่ให้บริการ : ส ำนักสถำนพยำบำลและกำรประกอบโรคศิลปะ กระทรวงสำธำรณสุข หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข (ถ้ามี) ในการยื่นค าขอ และในการพิจารณาอนุญาต
1. ระยะเวลำด ำเนินกำรของงำนบริกำรนี้ก ำหนดไว้ 45 วันท ำกำร ให้นับตั้งแต่วันที่คณะอนุกรรมกำรวิชำชีพพิจำรณำรำยชื่อ ผู้มีสิทธิสอบเป็นต้นไป ทั้งนี้ ยกเว้นกรณีที่เกิดภำวะวิกฤตหรือเหตุกำรณ์ฉุกเฉินต่ำงๆ ไม่ว่ำจะเกิดจำกภัยธรรมชำติ อุบัติเหตุ หรือ กำรมุ่งร้ำยต่อองค์กร เช่น อุทกภัย อัคคีภัย กำรก่อกำรประท้วง กำรก่อกำรจลำจล กำรก่อวินำศกรรม เป็นต้น

2. คุณสมบัติของผู้ยื่นค ำขอต้องเป็นไปตำมที่กฎหมำยก ำหนด คือ 2.1 อำยุไม่ต่ ำกว่ำ 20 ปีบริบูรณ์ 2.2 เป็นผู้มีควำมรู้ในวิชำชีพตำมมำตรำ 33 (6) แห่งพระรำชบัญญัติกำรประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พระรำชบัญญัติกำรประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2556 ดังนี้ ต้องมีควำมรู้ในวิชำชีพ คือ เป็นผู้ได้รับปริญญำ หรือ ประกำศนียบัตรเทียบเท่ำปริญญำสำขำกำยอุปกรณ์ จำกสถำบันกำรศึกษำที่คณะกรรมกำรวิชำชีพสำขำกำยอุปกรณ์รับรอง 2.3 ไม่เป็นผู้มีควำมประพฤติเสียหำย 2.4 ไม่เคยต้องโทษจ ำคุกโดยค ำพิพำกษำถึงที่สุดในคดีที่คณะกรรมกำรวิชำชีพเห็นว่ำอำจจะน ำมำซึ่งควำมเสื่อมเสียเกียรติ ศักดิ์แห่งวิชำชีพ 2.5 ไม่เป็นผู้ติดยำเสพติดให้โทษ 2.6 ไม่เป็นโรคที่คณะกรรมกำรวิชำชีพประกำศก ำหนดว่ำไม่สมควรให้ประกอบโรคศิลปะ ได้แก่ โรคเรื้อนในระยะติดต่อหรือ ในระยะที่ปรำกฎอำกำรเป็นที่รังเกียจต่อสังคม วัณโรคในระยะอันตรำย โรคเท้ำช้ำงในระยะที่ปรำกฎอำกำรเป็นที่รังเกียจต่อสังคม โรคพิษสุรำเรื้อรัง และโรคอื่นซึ่งคณะกรรมกำรวิชำชีพพิจำรณำเห็นว่ำเป็นอุปสรรคต่อกำรประกอบวิชำชีพกำยอุปกรณ์ 2.7 ไม่เป็นคนวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ

3. ผู้ยื่นค ำขอต้องตรวจสอบคุณสมบัติให้ครบถ้วนก่อนยื่นค ำขอ ในกรณีที่มีกำรยื่นค ำขอและช ำระค่ำธรรมเนียมกำรสอบเรียบร้อย แต่คณะอนุกรรมกำรวิชำชีพมีกำรพิจำรณำว่ำไม่มีสิทธิสอบหรือมีคุณสมบัติไม่ครบถ้วนในกำรขอขึ้นทะเบียน จะไม่มีกำรคืนเงิน ค่ำธรรมเนียมให้ไม่ว่ำกรณีใดๆ

4. หนังสือรับรองกำรตรวจสุขภำพ ต้องเป็นไปตำมแบบที่ก ำหนด หรือกรณีที่เป็นใบรับรองแพทย์ทั่วไป ต้องมีสำระส ำคัญให้ครบ ตำมแบบที่ก ำหนด พร้อมประทับตรำสถำนพยำบำลที่ออกหนังสือรับรอง ทั้งนี้ ระยะเวลำกำรรับรอง ต้องไม่เกิน 90 วันนับแต่วันที่ ออกหนังสือรับรอง

5. หลักเกณฑ์ วิธีกำรและเงื่อนไขกำรรับสมัครและกำรสอบแต่ละครั้งอ้ำงอิงตำมประกำศคณะกรรมกำรวิชำชีพสำขำกำยอุปกรณ์ ในกำรสอบครั้งนั้นๆ ซึ่งต้องมีกำรประกำศเพื่อประชำสัมพันธ์ทำงเว็บไซต์ของส ำนักสถำนพยำบำลและกำรประกอบโรคศิลปะ และแจ้งเป็นหนังสือไปยังส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดทุกจังหวัดเพื่อขอควำมร่วมมือในกำรรับสมัครสอบ ก่อนถึงก ำหนดกำร รับสมัครสอบ

6. กรณีจบกำรศึกษำจำกต่ำงประเทศต้องมีหนังสือแจ้งว่ำสถำบันกำรศึกษำได้รับกำรรับรองจำกคณะกรรมกำรวิชำชีพสำขำกำย อุปกรณ์แล้ว

7. กรณีของผู้ที่สอบไม่ผ่ำนสำมำรถยื่นค ำร้องขอทรำบผลคะแนนสอบได้ ภำยใน 30 วัน นับแต่วันที่ประกำศผลกำรสอบ โดยต้อง มำยื่นควำมประสงค์ขอดูคะแนนด้วยตนเอง ณ กลุ่มกำรประกอบโรคศิลปะสำขำกำรแพทย์แผนปัจจุบัน

8. กำรยื่นค ำขอขึ้นทะเบียน ผู้ขอต้องมำยื่นด้วยตนเอง ณ สถำนที่รับสมัคร 30 การขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขากายอุปกรณ์

9. กำรรับใบอนุญำตให้เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ กรณีที่ไม่สำมำรถมำรับด้วยตนเองได้ ต้องมอบอ ำนำจให้บุคคลอื่นมำรับแทน โดยท ำเป็นหนังสือมอบอ ำนำจให้บุคคลอื่นมำรับแทน ซึ่งต้องติดอำกรแสตมป์พร้อมแนบส ำเนำบัตรประจ ำตัวประชำชนของ ผู้มอบอ ำนำจและผู้รับมอบอ ำนำจ หำกมีกำรแก้ไขเอกสำรต้องนับวันหลังจำกหน่วยงำนได้รับเอกสำรแก้ไขครบถ้วนแล้ว

10. กรณีที่มีเหตุสุดวิสัยที่มีผลให้ด ำเนินกำรในขั้นตอนใดๆ ของกำรจัดสอบไม่เป็นตำมที่ประกำศก ำหนด ต้องมีกำรประกำศ ก ำหนดให้ทรำบถึงกำรเปลี่ยนแปลงก ำหนดกำรอย่ำงเป็นทำงกำร

11. ในกรณีที่คณะกรรมกำรวิชำชีพมีค ำสั่งไม่รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญำตให้แก่ผู้ขอเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ ผู้ยื่นค ำขอนั้น มีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อคณะกรรมกำรกำรประกอบโรคศิลปะภำยใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งกำรไม่รับขึ้นทะเบียน และออกใบอนุญำต

12. ในกรณีที่ค ำขอหรือเอกสำรหลักฐำนไม่ครบถ้วน และ/หรือ มีควำมบกพร่องไม่สมบูรณ์เป็นต้นเหตุให้ไม่สำมำรถพิจำรณำได้ เจ้ำหน้ำที่จะจัดท ำบันทึกควำมบกพร่องของรำยกำรเอกสำรหรือหลักฐำนที่ต้องยื่นเพิ่มเติม โดยผู้รับบริกำรจะต้องด ำเนินกำร แก้ไข หรือยื่นเอกสำรเพิ่มเติมภำยในระยะเวลำที่ก ำหนดในบันทึก มิเช่นนั้นจะถือว่ำผู้รับบริกำรละทิ้งค ำขอ

หมำยเหตุ: ขั้นตอนกำรด ำเนินงำนตำมคู่มือจะเริ่มนับระยะเวลำตั้งแต่เจ้ำหน้ำที่ได้รับเอกสำรครบถ้วนตำมที่ระบุไว้ในคู่มือ ประชำชนเรียบร้อยแล้ว

ช่องทางการให้บริการ
สถานที่ให้บริการ ศนย์บริกำรธุรกิจสุขภำพ ชั้น 1 อำคำรกรมสนับสนุนบริกำรสุขภำพ ถนนสำธำรณสุข 8 กระทรวงสำธำรณสุข เบอร์โทรศัพท์ 02 1937059 และส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัด ทุกจังหวัด /ติดต่อด้วยตนเอง ณ หน่วยงำน ระยะเวลาเปิดให้บริการ เปิดให้บริกำรวันจันทร์ ถึง วันศุกร์ (ยกเว้นวันหยุดที่ทำง รำชกำรก ำหนด) ตั้งแต่เวลำ 08:30 - 16:30 น. (มีพักเที่ยง)


ชื่อกระบวนงาน: กำรขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญำตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสำขำกำยอุปกรณ์ หน่วยงานกลางเจ้าของกระบวนงาน: ส ำนักสถำนพยำบำลและกำรประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริกำรสุขภำพ ประเภทของงานบริการ: กระบวนงำนบริกำรที่เบ็ดเสร็จในหน่วยเดียว หมวดหมู่ของงานบริการ: อนุญำต/ออกใบอนุญำต/รับรอง กฎหมายที่ให้อ านาจการอนุญาต หรือที่เกี่ยวข้อง:
1)พ.ร.บ.กำรประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม


=== สารบัญ ============

 ประกาศกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เรื่อง คู่มือส าหรับประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พ.ศ. 2558
1
คู่มือส าหรับประชาชน : งานการประกอบโรคศิลปะ (1)
 การขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิค 2
 การขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขากิจกรรมบ าบัด 7
 การขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขา
เทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก
13
 การขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขา
จิตวิทยาคลินิก
19
 การขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขา
การแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย
24
 การขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขา
กายอุปกรณ์
29
 การขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขา
การแพทย์แผนจีน
34
 การขอแก้ไขหรือเพิ่มเติมรายการในทะเบียนและใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ 39
 การขอใบแทนใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ 42
 การขอใบแปลใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะเป็นภาษาอังกฤษ 45
คู่มือส าหรับประชาชน : งานการประกอบโรคศิลปะ (2)
 การขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับหนังสืออนุญาตให้บุคคลประกอบโรคศิลปะ
โดยอาศัยศาสตร์ไคโรแพรคติก
48
 การขอขึ้นทะเบียนเพื่อรับหนังสืออนุญาตให้บุคคลประกอบโรคศิลปะ
โดยอาศัยทัศนมาตรศาสตร์
53
 การขอต่ออายุหนังสืออนุญาตให้บุคคลประกอบโรคศิลปะ
โดยอาศัยศาสตร์ไคโรแพรคติก
58
 การขอต่ออายุหนังสืออนุญาตให้บุคคลประกอบโรคศิลปะ
โดยอาศัยทัศนมาตรศาสตร์
63
คู่มือส าหรับประชาชน : งานการประกอบโรคศิลปะ (3)
 การขอรับรองสถาบันการศึกษาสาขารังสีเทคนิค 68
 การขอรับรองสถาบันการศึกษาสาขากิจกรรมบ าบัด 71
 การขอรับรองสถาบันการศึกษาสาขาเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก 76
 การขอรับรองสถาบันการศึกษาสาขาจิตวิทยาคลินิก 80
 การขอรับรองสถาบันการศึกษาสาขาการแก้ไขความผิดปกติของ
การสื่อความหมาย
84
 การขอรับรองสถาบันการศึกษาสาขากายอุปกรณ์ 88
 การขอรับรองสถาบันการศึกษาสาขาการแพทย์แผนจีน 92
ภาคผนวก :
(1) ค าสั่งกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ที่ 531/2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการ และ
คณะท างานจัดท าคู่มือส าหรับประชาชน ตามพระราชบัญญัติการอ านวยความ
สะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
97
(2) ข้อมูลการเผยแพร่คู่มือส าหรับประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 102
(3) สรุปภาพรวมคู่มือส าหรับประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ :
งานการประกอบโรคศิลปะ
103

 

แจงรับใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ สาขากายอุปกรณประจําป 2563

 แจงรับใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะ
สาขากายอุปกรณประจําป 2563
ตามประกาศคณะกรรมการวิชาชีพสาขากายอุปกรณ เรื่อง ผลการพิจารณาผูสอบผานเพื่อ
ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเปนผูประกอบโรคศิลปะสาขากายอุปกรณประจําป 2563 และการอนุมัติ
ขึ้นทะเบียนเปนผูประกอบโรคศิลปะสาขากายอุปกรณไดประกาศรายชื่อผูสอบผานและไดรับการขึ้นทะเบียน
เปนผูประกอบโรคศิลปะสาขากายอุปกรณจํานวน 22 คน นั้น
 ในการนี้ กองสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะไดจัดทําใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะฯ
ใหแกผูสอบผานและไดรับการขึ้นทะเบียนเปนผูประกอบโรคศิลปะสาขากายอุปกรณเสร็จเรียบรอยแลว
 จึงขอแจงใหผูสอบผาน มารับใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะสาขากายอุปกรณไดตั้งแต
วันอังคารที่ 15 กันยายน 2563 เปนตนไป ในวันและเวลาราชการ ณ ศูนยบริการแบบเบ็ดเสร็จ ชั้น 1
อาคารกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ถนนสาธารณสุข 8 กระทรวงสาธารณสุข อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี
กรณีที่ทานมารับใบอนุญาตดวยตนเอง
สิ่งที่ตองเตรียมไดแก
1. บัตรประจําตัวประชาชน
2. คาธรรมเนียมใบอนุญาต 1000 บาท
กรณีที่ทานมอบฉันทะใหผูอื่นมารับแทน
สิ่งที่ตองเตรียมไดแก
1. หนังสือมอบอํานาจ (ตามแบบฟอรมที่แนบทายประกาศนี้)
2. สําเนาบัตรประชาชนของผูมอบอํานาจ และผูรับมอบอํานาจ
3. คาธรรมเนียมใบอนุญาต 1000 บาท


source 

กายอุปกรณ์ Wiki

 กายอุปกรณ์ หมายถึง อุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆที่ใช้กับร่างกาย ในความหมายที่ใช้ในปัจจุบัน มักจะหมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้กับร่างกายเพื่อช่วยเหลือการเคลื่อนไหว เช่น แขนเทียม ขาเทียม อุปกรณ์ประคองหรือดามหลัง อุปกรณ์ดามมือ เป็นต้น แต่โดยทั่วไป ขอบเขตที่แท้จริงของกายอุปกรณ์ ยังรวมไปถึงอุปกรณ์อื่นๆที่ใช้กับร่างกายด้วย เช่น ลูกตาเทียม ข้อเข่าเทียมที่ใช้สำหรับผ่าตัดทดแทนเข่าเดิมในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม เป็นต้น และอุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหวต่างๆ เช่น รถล้อเข็น (Wheelchair) ไม้เท้า เป็นต้น
 
ส่วน งานกายอุปกรณ์ หมายถึงการตรวจวัดขนาด ออกแบบ ประดิษฐ์ ผลิต ดัดแปลง แก้ไข ซ่อมแซม อุปกรณ์ต่างๆที่ใช้กับร่างกายให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย เพื่อช่วยเหลือการเคลื่อนไหวเท่านั้น งานกายอุปกรณ์ต้องอาศัยทักษะฝีมือและความเชี่ยวชาญชำนาญเฉพาะบุคคลค่อนข้างสูง (ร่วมกับความรู้ความเข้าใจในเรื่องวัสดุศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ศิลปะ และเรื่องวิทยาศาสตร์การแพทย์ด้านกายวิภาคประยุกต์ ด้านชีวกลศาสตร์และการเคลื่อนไหวประยุกต์พอสมควร)
 
และ งานกายอุปกรณ์ จัดเป็นส่วนหนึ่งของทีมงานด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู อีกด้วย
 
ในภาษาอังกฤษคำว่า กายอุปกรณ์ ใช้ใน US ว่า Orthosis and Prosthesis (ตัวย่อว่า O&P) ส่วนในประเทศไทยนิยมเรียกว่า Prosthesis and Orthosis (ตัวย่อ PO) อนึ่งคำว่า Prosthesis อาจเขียนว่า Prostheses ก็ได้เมื่อมีความหมายเป็นพหูพจน์ และคำว่า Orthosis สามารถเขียนให้อยู่ในรูปพหูพจน์ได้ว่า Orthoses
 
ส่วนคำว่า งานกายอุปกรณ์ ใช้ว่า Prosthetics and Orthotics (ตัวย่อ P&O) หรือ Orthotics and Prosthetics (ตัวย่อ O&P) ก็ได้เช่นกัน


บุคลากรด้านกายอุปกรณ์ในประเทศไทย
บุคลากรที่ทำหน้าที่ตรวจวัดขนาด ออกแบบ ประดิษฐ์ ผลิตและดัดแปลงซ่อมแซมกายอุปกรณ์เสริม-เทียมให้เหมาะสมกับผู้ป่วยและผู้พิการ มีชื่อเรียกตามที่ ก.พ.ระบุ ซึ่งเรียกชื่อตำแหน่งบรรจุตามวุฒิการศึกษาคือ หากสำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรจากโรงพยาบาลเลิดสิน หรือ สำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรชั้นสูงจากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (พ.ศ. 2536-2542) เรียกว่า ช่างกายอุปกรณ์ (PO technician) แต่หากสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาจะเรียกว่า นักกายอุปกรณ์ (Prosthetist/Orthotist) ซึ่งโรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล[1] ถือเป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกและแห่งเดียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ผลิตบัณฑิตในสาขากายอุปกรณ์หรือนักกายอุปกรณ์ออกมา
 
(ในอดีต หลักสูตรด้านกายอุปกรณ์ในประเทศไทยยังไม่มีการจัดเป็นหลักสูตรปริญญา ซึ่งเหมือนกับอีกหลายๆหลักสูตร เช่น พยาบาล (เทคนิค) , ครู (ประกาศนียบัตรชั้นสูง) เป็นต้น แต่ในปัจจุบันได้ปรับหลักสูตรเป็นระดับปริญญาแล้ว ในหลายๆประเทศ เช่น ญี่ปุ่น ปัจจุบันยังมีหลักสูตรกายอุปกรณ์ทั้งระดับปริญญา (เรียน 4 ปี) และระดับอนุปริญญา (เรียน3 ปี) เช่นกัน)
 
ช่างกายอุปกรณ์หรือนักกายอุปกรณ์ จะปฏิบัติงานในทีมของเวชศาสตร์ฟื้นฟู ซึ่งจะประกอบด้วยสหสาขาวิชา เช่น แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู นักกายภาพบำบัด นักกิจกรรมบำบัด นักอรรถบำบัด นักจิตวิทยา พยาบาลทางเวชศาสตร์ฟื้นฟู
 
ผู้ที่ทำหน้าที่ส่งต่อการรักษาและร่วมตรวจสอบกายอุปกรณ์กับผู้ป่วยคือ แพทย์ ซึ่งมักเป็น แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู หรือ ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์
 
ประเภทของกายอุปกรณ์
กายอุปกรณ์แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
 
กายอุปกรณ์เทียม (prosthesis) กายอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ทดแทนอวัยวะหรือชิ้นส่วนของอวัยวะที่ขาดหายไป เช่น ขาเทียม แขนเทียม นิ้วมือเทียม เป็นต้น
ในทางกายอุปกรณ์สำหรับแขนขา หมายถึง อุปกรณ์ใดๆก็ตามภายนอกร่างกาย ที่นำมาทดแทนส่วนของระยางค์ (แขน-ขา) ทั้งหมดหรือบางส่วนซึ่งไม่เคยมีอยู่เลยหรือขาดหายไป
Prosthesis; Prosthetic device: Externally applied device used to replace wholly, or in part, an absent or deficient limb segment. (จากข้อ 2.1.1 ใน ISO 8549-1 : 1989)
กายอุปกรณ์เสริม (orthosis) คือ กายอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้เพื่อเสริมการทำหน้าที่ของอวัยวะที่มีปัญหาในการทำงาน (เช่น อ่อนแรง, เจ็บปวด, เสื่อมสมรรถภาพ เป็นต้น) อาจเรียกชื่อสามัญว่า อุปกรณ์เสริม, อุปกรณ์ดาม หรือที่ประคอง (Splint หรือ Brace) ก็ได้
ในทางกายอุปกรณ์สำหรับแขนขา หมายถึง อุปกรณ์ใดๆก็ตามภายนอกร่างกาย ที่นำมาดัดแปลงลักษณะโครงสร้างหรือการทำหน้าที่ของระบบประสาท-กล้ามเนื้อและระบบค้ำจุนร่างกาย (กระดูก-กล้ามเนื้อ) ของร่างกาย
Orthosis; Orthotic device: Externally applied device used to modify the structural and functional characteristics of the neuro-muscular and skeletal systems. (จากข้อ 2.1.2 ใน ISO 8549-1 : 1989)
เมื่อดูจากคำจำกัดความตาม ISO อุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว (Mobility aids) ชนิดต่างๆ เช่น รถล้อเข็น (Wheelchair) , ไม้เท้า (Cane) , ไม้ค้ำยัน (Crutches) ก็จัดได้ว่าเป็นกายอุปกรณ์เสริมชนิดหนึ่งเช่นกัน แต่ตามปรกติในทางปฏิบัติ มักไม่ถูกรวมอยู่ในกายอุปกรณ์เสริม มักจัดเป็นอีกกลุ่มซึ่งแยกออกมา
กายอุปกรณ์เทียม
ในงานกายอุปกรณ์ แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆคือ
 
กายอุปกรณ์สำหรับระยางค์ล่าง หรือเรียกง่ายๆว่า ขาเทียม
กายอุปกรณ์เทียมสำหรับระยางค์บน หรือเรียกแบบง่ายว่า แขนเทียม
หมายเหตุ
 
รยางค์ล่าง (Lower extremity) หมายถึง ขา (ตั้งแต่ปลายนิ้วเท้าจนถึงข้อสะโพก) และกระดูกเชิงกราน (ทำหน้าที่เป็นโครงให้ขายึดกับแกนกลางร่างกายที่กระดูกสันหลัง)
 
รยางค์บน (Upper extremity) หมายถึง แขน (ตั้งแต่ปลายนิ้วมือจนถึงข้อไหล่) กระดูกไหปลาร้าและกระดูกสะบัก (ทำหน้าที่เป็นโครงให้ขายึดกับแกนกลางร่างกายที่กระดูกซี่โครง)
 
การเรียกชื่อชนิดต่างๆของแขนเทียมและขาเทียม สามารถทำได้ 2 แบบคือ
 
เรียกตามตำแหน่งที่ระยางค์ล่างโดนตัด แบ่งได้เป็น (จากด้านล่างขึ้นมาด้านบน)
สำหรับระยางค์ล่าง แบ่งได้เป็น
กายอุปกรณ์เทียมทดแทนนิ้วเท้า (Toe prosthesis)
กายอุปกรณ์เทียมทดแทนบางส่วนของเท้า (Partial foot prosthesis)
ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อเท้า (Ankle disarticulation (AD) prosthesis)
ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกหน้าแข้ง (Transtibial (TT) prosthesis)
ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อเข่า (Knee disarticulation (KD) prosthesis)
ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกต้นขา (Transfemoral (TF) prosthesis)
ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อสะโพก (Hip disarticulation (HD) prosthesis)
ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาและเอากระดูกเชิงกรานออกไปด้วย 1 ข้าง (Hemipelvectomy prosthesis)
สำหรับระยางค์บน แบ่งได้เป็น
กายอุปกรณ์เทียมทดแทนนิ้วมือ (Finger prosthesis)
กายอุปกรณ์เทียมทดแทนบางส่วนของมือ (Partial hand prosthesis)
แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านข้อมือ (Wrist disarticulation (WD) prosthesis)
แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านกระดูกปลายแขน (Transradial (TR) prosthesis)
แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านข้อศอก (Elbow disarticulation (ED) prosthesis)
แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านกระดูกต้นแขน (Transhumeral (TH) prosthesis)
แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านกระดูกต้นแขนที่คอกระดูกต้นแขน (Humeral-neck amputation prosthesis)
แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านข้อไหล่ ("True" shoulder disarticulation prosthesis)
แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนร่วมกับเอากระดูกสะบักและกระดูกไหปลาร้าออกไปด้วย 1 ข้าง (Forequater amputation prosthesis)
เรียกโดยอ้างอิงจากตำแหน่งของข้อต่อ เป็นการแบ่งง่ายๆและเป็นระบบเดิมที่นิยมใช้กันมา ได้แก่
ขาเทียม มักใช้ข้อเข่าเป็นจุดอ้างอิง โดย
ใช้ ขาเทียมระดับใต้เข่า (Below-knee (BK) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกหน้าแข้ง
ใช้ ขาเทียมระดับข้อเข่า (Through-knee (TK) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านข้อเข่า
ใช้ ขาเทียมระดับเหนือเข่า (Above-knee (AK) prosthesis) แทน ขาเทียมสำหรับผู้ถูกตัดขาผ่านกระดูกต้นขา
แขนเทียม มักใช้ข้อศอกเป็นจุดอ้างอิง โดย
ใช้ แขนเทียมระดับใต้ศอก (Below-elbow (BE) prosthesis) แทน แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านกระดูกปลายแขน
ใช้ แขนเทียมระดับข้อศอก (Through-elbow (TE) prosthesis) แทน แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านข้อศอก
ใช้ แขนเทียมระดับเหนือศอก (Above-elbow (AE) prosthesis) แทน แขนเทียมสำหรับผู้ถูกตัดแขนผ่านกระดูกต้นแขน
นอกจากนี้ สำหรับแขนเทียม ยังสามารถแบ่งตามคุณสมบัติได้แก่
ประเภทสวยงาม (Cosmetic type) ประเภทนี้ไม่สามารถเคลื่อนไหวมือเทียม/ข้อมือ/ข้อศอก/ข้อไหล่ได้
ประเภทใช้งานได้ (Functional type) สามารถเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของแขนเทียมได้ตามความต้องการของผู้พิการ โดยยังสามารถแบ่งลงไปได้ตามประเภทของการควบคุมการเคลื่อนไหวเป็น
ควบคุมโดยการใช้การเคลื่อนไหวของร่างกาย (Body controlled)
ควบคุมโดยใช้พลังงานภายนอก (External-power controlled) ซึ่งควบคุมการจ่ายไฟฟ้าด้วยปุ่มสวิตช์กด (Switch controlled) หรือ ตัวรับสัญญาณไฟฟ้าในกล้ามเนื้อ (Myoelectric)
กายอุปกรณ์เสริม
มีหน้าที่ต่างๆ เช่น
จำกัดการเคลื่อนไหวของอวัยวะ
ช่วยให้มีการเคลื่อนไหวของอวัยวะ
บรรเทาอาการเจ็บปวด
ช่วยส่งเสริมให้กระดูกที่หักติดเป็นปรกติ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ข้อเคลื่อนหลุด เอ็นฉีกขาด เป็นต้น
ฯลฯ
กายอุปกรณ์เสริม มักแบ่งประเภทใหญ่ๆตามอวัยวะที่ใช้เป็น 4 ประเภทได้แก่
กายอุปกรณ์สำหรับศีรษะ (Head orthosis)
กายอุปกรณ์สำหรับกระดูกสันหลัง (Spinal orthosis)
กายอุปกรณ์สำหรับระยางค์บน (Upper-extremity orthosis)
กายอุปกรณ์สำหรับระยางค์ล่าง (Lower-extremity orthosis) รวมถึงกายอุปกรณ์เสริมสำหรับเท้า (Foot orthosis) และการดัดแปลงรองเท้า (Shoe modification) อีกด้วย
โดยการเรียกชื่อสำหรับกายอุปกรณ์เสริมแต่ละชนิด สามารถเรียกชื่อได้หลายแบบตามแต่ละระบบมาตรฐานทางการแพทย์ โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆตามข้อด่อที่กายอุปกรณ์เสริมพาดผ่าน เช่น กายอุปกรณ์เสริมสำหรับมือ-ข้อมือ (Wrist-hand orthosis: WHO) , กายอุปกรณ์เสริมสำหรับเท้า-ข้อเท้า (Ankle-foot orthosis: AFO) หรือ กายอุปกรณ์เสริมสำหรับกระดูกสันหลังส่วนอก-ส่วนหลัง-ส่วนกระเบนเหน็บ (Thoracolumbosacaral spinal orthosis: TLSO) เป็นต้น
 
และมักเพิ่มเติมชื่อกายอุปกรณ์เสริมแต่ละชนิดเพื่อให้จำเพาะเจาะจงไปมากกว่านี้ โดยอาจเรียกตามหน้าที่การทำงาน เช่น ป้องกันการเหยียด (Extension-stopped) , ช่วยการงอ (Flexion-assisted) หรือตามตำแหน่ง"ด้าน"ที่อยู่บนร่างกาย เช่น ด้านหลังมือ (Dorsal) , ด้านฝ่ามือ (Volar) เป็นต้น
 
นอกจากนี้ อาจเรียกตามชื่อสามัญ ซึ่งเป็นชื่อเดิมที่มีมาก่อนจะจัดระบบ เช่น อุปกรณ์เสริมชนิดจีเว็ตต์ เบรซ (Jewette brace) , อุปกรณ์เสริมชนิดไนท์เบรซ (Knight brace) หรือ ยูนิเวอร์ซัล คัฟฟ์ (Universal cuff) เป็นต้น
 
 
อุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว
อุปกรณ์ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว (Mobility aids) ต่างๆ เช่น รถล้อเข็น (Wheelchair) , ไม้เท้า (Cane) , ไม้ค้ำยัน (Crutches) เป็นต้น มีหลากหลายชนิด ซึ่งต้องอาศัยความรู้ในการเลือกชนิดและส่วนประกอบของอุปกรณ์เหล่านี้เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะแผ่นรองนั่งของรถล้อหมุน
 
สำหรับรถล้อเข็น สามารถแบ่งจำพวกเป็น
 
รถล้อเข็นมือหมุน
รถล้อเข็นมือหมุนใช้งานทั่วไป
รถล้อเข็นมือหมุนใช้งานพิเศษ (เช่น สำหรับใช้แข่งขันกีฬา เป็นต้น)
รถล้อเข็นไฟฟ้า

 

Source Wiki

โรงเรียนกายอุปรณ์สิรินธร LINK

โรงเรียนกายอุปรณ์สิรินธร พระราชกฤษฎีกากำหนดให้สาขาการกายอุปกรณ์เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะ
โรงเรียนกายอุปรณ์สิรินธร พระราชกฤษฎีกากำหนดให้สาขาการกายอุปกรณ์เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะ
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชากายอุปกรณ์ แห่งแรกในอาเซียน

โรงเรียนกายอุปรณ์สิรินธร
เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าภาควิชา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
 
การศึกษามี 5 หลักสูตร ได้แก่
1. หลักสูตรกายอุปกรณศาสตรบัณฑิต
2.หลักสูตรกายอุปกรณศาสตรบัณฑิต (นานาชาติ)
3.หลักสูตรกายอุปกรณศาสตรบัณฑิต (นานาชาติแบบเรียนทางไกลผสมผสาน)
4.หลักสูตรกายอุปกรณศาสตรบัณฑิต (ทางไกลผสมผสาน)
5.หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายอุปกรณ์ (หลักสูตรนานาชาติ)

การบริการ มีคลินิกที่เปิดทำการอยู่ 2 คลินิก
1.คลินิกหน่วยกายอุปกรณ์
2.ศูนย์ความเป็นเลิศด้านกายอุปกรณ์
 
โรงเรียนฯ ได้รับการรับรองมาตรฐานสากล ISPO category 1 institution และ ISO 9001:2008 certification.
 
 
SSPO
โรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 14
ถนนอรุณอมรินทร์, แขวงอรุณอมรินทร์,
เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700
สำนักงานโรงเรียนโทรศัพท์ 02-419-3452
คลินิกกายอุปกรณ์โทรศัพท์ 02-419-3448
 
SSPO
Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University
14 Arun-Aumarin Road, Arun-Aumarin, Bangkoknoi, Bangkok, 10700 Thailand

คลินิกกายอุปกรณ์ LINK

 กายอุปกรณ์ กายอุปกรณ์ คือ อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่กระทำกับอวัยวะภายนอกของร่างกายเพื่อช่วยในการฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายและการเคลื่อนไหวของร่างกายในส่วนที่สูญหายหรือบกพร่องเกี่ยวกับระบบประสาท กล้ามเนื้อและกระดูก หน่วยงานกายอุปกรณ์ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูฯ เป็นหน่วยงานที่ให้บริการด้านวิชาการและบริการการฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายและการเคลื่อนไหว ด้านวิชาการได้มีการจัดทำผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนารูปแบบ นวัตกรรมและระบบบริการ ฟื้นฟูสมรรถภาพทางกายและการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ 4 ภูมิภาค เพื่อให้ผู้ป่วยและคนพิการได้เข้าถึงบริการอย่างสะดวกและรวดเร็ว สำหรับงานบริการหน่วยงานกายอุปกรณ์มีหน้าที่ให้บริการในด้านการตรวจประเมิน ออกแบบ ผลิต ดัดแปลง ซ่อมแซมและแก้ไขกายอุปกรณ์ประเภทต่าง ควบคุมไปทั้งกายอุปกรณ์เทียม กายอุปกรณ์เสริม รวมไปถึงรองเท้าสำหรับแก้ไขความพิการ แผ่นเสริมในรองเท้า และ นิ้วมือนิ้วเท้าเทียมชนิดซิลิโคน
 
การจองคิวนัดหมาย
1. ผู้รับบริการรายใหม่ ติดต่อห้องเวชระเบียนเพื่อทำประวัติใหม่และรอรับแฟ้มประวัติ/ ผู้รับบริการรายเก่า ติดต่อห้องเวชระเบียนเพื่อรับแฟ้มประวัติที่ตึกอำนวยการ
สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ
2. พบแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูเพื่อตรวจวินิจฉัยโรค
3. ยื่นแฟ้มที่งานธุรการ อาคารกายอุปกรณ์ เพื่อรับใบนัดหมายการเข้าตรวจคลินิกกายอุปกรณ์
 
การเข้าตรวจคลินิกกายอุปกรณ์ (วันจันทร์ เวลา 08.30 น. - 12.00 น.)
1. ผู้รับบริการรับแฟ้มประวัติที่เวชระเบียนตึกอำนวยการ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ
2. ยื่นแฟ้มประวัติพร้อมใบนัดหมายที่งานธุรการ อาคารกายอุปกรณ์
3. พบแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูประจำงานกายอุปกรณ์เพื่อตรวจประเมิน วินิจฉัยโรค และรับใบสั่งกายอุปกรณ์
4. พบนักกายอุปกรณ์เพื่อตรวจประเมิน หล่อแบบ และออกแบบกายอุปกรณ์
5. รับใบนัดหมายเพื่อมาทดลองใช้กายอุปกรณ์ และยื่นแฟ้มประวัติคืนที่งานธุรการ อาคารกายอุปกรณ์
*** หมายเหตุ : อย่าลืมนำรองเท้าที่เหมาะสมจะใช้ในการทดลองกายอุปกรณ์มาด้วย ***
การเข้าตรวจคลินิกกายอุปกรณ์ (วันพุธ เวลา 08.30 น. - 16.30 น.)
1. ผู้รับบริการรับแฟ้มประวัติที่เวชระเบียนตึกอำนวยการ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ
2. ยื่นแฟ้มประวัติพร้อมใบนัดหมายที่งานธุรการ อาคารกายอุปกรณ์
3. พบนักกายอุปกรณ์เพื่อทดลองใช้กายอุปกรณ์
4. พบแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูเพื่อตรวจสอบกายอุปกรณ์
5. หากมีการนัดตรวจสอบกายอุปกรณ์เป็นระยะ ๆ หรือนัดรับกายอุปกรณ์ รับใบนัดหมายครั้งต่อไปและยื่นแฟ้มประวัติคืนที่งานธุรการ อาคารกายอุปกรณ์
 

สถต ิ ผ ิ ู ้ประกอบโรคศ ิ ลปะ ข ้ อม ู ล ณ วันท ี่30 กันยายน 2562

สำขำกำรประกอบโรคศิลปะ
จ ำนวนผู้ประกอบโรค
ศิลปะ
กิจกรรมบ ำบัด 1376
กำยอุปกรณ์ 283
กำรแก้ไขควำมผิดปกติของกำรสื่อ
ควำมหมำย 384
จิตวิทยำคลินิก 954
เทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก 728
รังสีเทคนิค 4960
กำรแพทย์แผนจีน 1469
 
รวม 10154
 
หมำยเหตุ เป็นข้อมูลตำมปีงบประมำณ 2562 ณ วันที่ 30 กันยำยน 25622. การสอบขน
ทะเบย
http://mrd-hss.moph.go.th/roksil/registration.html
การสอบขึ้นทะเบียน
http://mrd-hss.moph.go.th/roksil/registration.html
ผลการสอบขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะโดยคณะกรรมการวิชาชีพสาขาต่างๆ
ประจ าปี 2562
สาขาการประกอบโรคศิลปะ จ านวน
ผู้เข้าสอบ
จ านวนผู้สอบผ่านตาม
หลักเกณฑ์ที่ก าหนด
ร้อยละ
กิจกรรมบ ำบัด 123 102 82.92
กำยอุปกรณ์ 23 22 95.65
กำรแก้ไขควำมผิดปกติของกำรสื่อ
ควำมหมำย
25 17 68.00
จิตวิทยำคลินิก 249 101 40.56
เทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก 63 60 95.23
รังสีเทคนิค 369 286 77.50
กำรแพทย์แผนจีน 299 184 61.53
ทัศนมำตร 112 64 57
ไคโรแพรคติก สอบ ธค62
 
source
 
ข่าว/บทความล่าสุด
เนื้อหาอ่านล่าสุด