ข่าวสุขภาพ
ค้นหา รพ.-คลินิก-ร้านยาทั่วไทย ร้านยาคุณภาพของฉัน บริการสุขภาพ คลินิกเอกชน งาน รพ.
บริการวัคซีนโควิด บริการตรวจโควิด
ตำแหน่งงาน
ข่าวสุขภาพทั่วไป ข่าวธุรกิจสุขภาพไทย ข่าวธุรกิจสุขภาพรอบโลก กิจกรรม-บริการ รพ.ต่างๆ สิทธิสุขภาพชาวไทย สาระความรู้สุขภาพ Health Economy ท่องเที่ยวสุขภาพ กิจกรรม ESG CSR กิจกรรม Event บริจาค
น่าสนใจไทยแลนด์
English
About us เผยแพร่เนื้อหา สถิติเว็บไซต์ สำรวจความเห็นสุขภาพ โฆษณา
healthserv.net@gmail.com

ความรู้สุขภาพ

สาระ ความรู้ บทความ เรื่องสุขภาพด้านต่างๆ จากหน่วยงานรัฐ มหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญ เว็บไซต์ social media สื่อต่างๆ ฯลฯ นำมาเผยแพร่เพื่อเป็นประโยชน์กับผู้สนใจ ศึกษาเรียนรู้ ป้องกันและดูแลสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ

เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร บริการ บทความ ส่งมาที่ healthserv.net@gmail.com Home / ความรู้สุขภาพ
Thumb1

โรคอะเฟเซีย (Aphasia) ภาวะสมองสูญเสียการสื่อสาร เหตุ บรูซ วิลลิส ต้องยุติอาชีพนักแสดง

จากข่าวดังที่ดาราฮอลลีวู๊ดชื่อก้อง บรูซ วิลลิส ต้องยุติอาชีพนักแสดง เหตุเพราะเป็นโรค Aphasia (อะเฟเซีย) ภาวะบกพร่องทางการสื่อความ กรมการแพทย์ โดยสถาบันประสาทวิทยา ระบุว่า โรคอะเฟเซีย (Aphasia) ภาวะอาการทางสมองส่งผลต่อการสื่อสาร เผยเป็นผลมาจากสมองได้รับความเสียหาย ทำให้มีความผิดปกติในด้านทักษะของการสื่อสารและการใช้ภาษา ไม่สามารถโต้ตอบหรือทำความเข้าใจได้ แนะควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับการรักษา
Thumb1

ยาเสียสาวกลับมาเป็นข่าวอีกครั้ง

ยาเสียสาวกลับมาเป็นข่าวอีกครั้ง พัวพันกับคดีอันโด่งในประเทศขณะนี้ แม้ที่ผ่านมาจะเกิดเหตุการณ์ที่เกี่ยวพันกับยาเสียสาวในหลายกรณี แต่ความเป็นจริงคือยาเสียสาวสุดอันตรายเหล่านี้ไม่เคยหายไปจากสังคม ยาเสียสาวเป็นยาอันตรายอย่างมากโดยเฉพาะกับสตรีทุกท่าน
Thumb1

จริงหรือปล่าว กินไข่ทำคอเลสเตอรอลสูง

หากย้อนไปในอดีตยังมีความเชื่อที่ว่ากินไข่แล้วทำให้คอเลสเตอรอลสูง อาจเป็นเพราะสมัยก่อนยังไม่มีงานวิจัย หรือข้อมูลต่างๆมากพอเพื่อประกอบการตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ แต่ในปัจจุบันมีข้อมูลเชิงวิชาการที่แสดงข้อเท็จจริงอีกด้านมากขึ้น ดังนั้น จากความเชื่อในอดีต จึงเริ่มเปลี่ยนเป็นคำถามว่า ไข่ไก่มีความเกี่ยงโยงกับคอเลสเตอรอลจริงหรือไม่
Thumb1

อุโมงค์พ่นน้ำยาฆ่าเชื้อโรค ฆ่าเชื้อโควิดด้วยแสง UV ฆ่าเชื้อได้จริงหรือไม่

อย. ห่วงใยประชาชน แนะนำวิธีใช้ผลิตภัณฑ์และอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในช่วงการระบาดของโควิด-19 หากมีการแบ่งบรรจุน้ำยาฆ่าเชื้อโรคใส่ขวดควรมีการแสดงฉลากให้ชัดเจน และเก็บในที่มิดชิดเพื่อความปลอดภัย ส่วนการนำน้ำยาฆ่าเชื้อโรคมาฉีดพ่นบนร่างกายมนุษย์ เป็นการใช้ผิดวัตถุประสงค์ อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ รวมทั้งระบบฆ่าเชื้อโรคด้วยแสง UV เหมาะสำหรับฆ่าเชื้อในห้องและอุปกรณ์ การใช้โดยตรงกับร่างกายมนุษย์ต้องระวัง อาจเกิดมะเร็งผิวหนังได้ ที่สำคัญทั้ง 2 วิธีนี้ องค์การอนามัยโลกไม่แนะนำ
Thumb1

IF ไม่เหมาะกับทุกคน กลุ่มเด็กวัยเรียน-หญิงท้อง-ให้นมบุตร-ผู้มีปัญหาสุขภาพ ควรหลีกเลี่ยง

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เตือน กลุ่มเสี่ยง เช่น เด็กอายุต่ำกว่า 18 ปี หญิงท้อง หญิงให้นมบุตร ผู้มีปัญหาสุขภาพ หลีกเลี่ยงการควบคุมน้ำหนัก หรือลดน้ำหนักด้วยการทำ IF (Intermittent Fasting) แนะปรับพฤติกรรมสุขภาพโดยกินอาหารลด หวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้ ออกกำลังกายเป็นประจำ ดื่มน้ำเปล่าและนอนหลับให้เพียงพอ
Thumb1

โรคใหลตาย ภัยเงียบในผู้ชายที่มีสุขภาพแข็งแรง

เป็นข่าวขึ้นมาอยู่ในความสนใจอีกครั้งกับการเสียชีวิตของดาราชายท่านหนึ่งที่พบในภายหลังว่าเป็นโรคใหลตาย โรคที่เคยได้ยินชื่อกันมานาน แต่ปัจจุบันอาจพบไม่บ่อยครั้งนัก เพื่อความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้น คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับโรคใหลตายนี้ พร้อมคำแนะนำและแนวทางป้องกันไว้แล้ว ดังนี้
Thumb1

สังเกตอาการให้ดี ATK เป็นลบ แต่อาจเสี่ยงเป็นไข้เลือดออก

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงไข้เลือดออก ระบุว่า สังเกตอาการให้ดี ATK เป็นลบ แต่อาจเสี่ยงเป็นไข้เลือดออก หากผู้ป่วยมีอาการคล้ายไข้หวัดแต่ทำการตรวจหาเชื้อโควิด-19 ด้วยตนเอง แล้วพบว่าผลตรวจเป็นลบ แต่ยังมีอาการเหล่านี้ อาจมีความเสี่ยงต่อการเป็น โรคไข้เลือดออก
Thumb1

จ้องจอเรียนออนไลน์ทั้งวัน ตาจะแย่ไหมนะ หมอตามีคำตอบ

ในภาวะที่โรคระบาดโควิดในประเทศและทั่วโลกยังคงอยู่ในขณะนี้ ส่งผลทำให้โรงเรียนต้องปิดการเรียนการสอน งดไปโรงเรียน และให้นักเรียนต้องเรียนออนไลน์ที่บ้านแทน
Thumb1

วัณโรค รู้เร็วรักษาให้หายได้

กรมการแพทย์ โดยสถาบันโรคทรวงอก แนะวัณโรคสามารถรักษาให้หายได้ หากดูแลตนเอง และรับประทานยาต่อเนื่องตามแพทย์สั่ง หากพบว่ามีอาการข้างเคียงจากการใช้ยา หรือมีอาการผิดปกติ ควรรีบไปพบแพทย์ทันที
Thumb1

กินอาหารมีโซเดียมมากไป เสี่ยงเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) สุดอันตราย

นักวิชาการ เผยอุตสาหกรรมผลิตอาหารให้ความสำคัญและตระหนักอย่างมากเรื่องการลดการบริโภคเกลือและโซเดียม มีการใส่สารเจือปนอื่นทดแทน เช่น เครื่องเทศ สมุนไพร นอกจากนี้ ยังมีการพยายามลดโซเดียมในไส้กรอกและเริ่มมีการวางจำหน่ายแล้ว อย่างไรก็ดี ผู้บริโภคควรอ่านฉลากที่ติดอยู่ที่ผลิตภัณฑ์ หรือฉลาก GDA เพื่อให้สามารถเลือกรับประทานได้อย่างเหมาะสม หมดกังวลเรื่องโซเดียมสูงเพื่อให้ได้รับประทานอาหารที่ยังคงคุณค่าอาหาร อร่อย ปลอดภัยเช่นเดิม
Thumb1

อาหาร 5 ประเภท มีโซเดียมแฝง แม้ไม่มีรสเค็ม

รู้หรือไม่ว่ามีอาหารหลายชนิดที่มีโซเดียมซ่อนอยู่ ทำให้เรากินเข้าไปและได้รับโซเดียมมากไม่รู้ตัว เพราะไม่มีรสเค็ม จากการเปิดเผยของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ชี้ มีอาหาร 5 ประเภทอาหารที่มีปริมาณโซเดียมแฝงอยู่ พร้อมย้ำ ไม่ควรกินเกลือมากกว่า 5 กรัมต่อวัน หรือ 1 ช้อนชา เพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ หลอดเลือดสมอง ความดันโลหิตสูง และไตเรื้อรัง
Thumb1

เนื้อไก่ สุดยอดโปรตีน สร้างร่างกายแข็งแรง เสริมภูมิคุ้มกัน

นักวิชาการ จุฬาฯ แนะเนื้อไก่ เป็นแหล่งโปรตีนสมบูรณ์ ช่วยสร้างเซลล์ภูมิคุ้มกันและสารภูมิคุ้มกันต่างๆ ป้องกันเชื้อโรคจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ร่างกาย แนะบริโภคโปรตีนในปริมาณที่เหมาะสมไม่มากไม่น้อยเกินไป ดีต่อสุขภาพของคนทุกวัย และเพื่อสุขอนามัย ความปลอดภัย ควรเลือกซื้อจากแหล่งผลิตที่น่าเชื่อถือ และปรุงสุกทุกครั้ง
Thumb1

ซิฟิลิส Syphilis

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ที่มีความรุนแรงมาก มารดาที่ติดเชื้อชิฟิลิสขณะตั้งครรภ์ อาจแท้ง ทารกตายในครรภ์
Thumb1

Tamoxifen (ทาม็อกซิเฟน)

ยารับประทานรูปแบบเม็ด ที่ใช้รักษามะเร็งเต้านมในกลุ่มการรักษาด้วยฮอร์โมน มีผลไปยับยั้งการทำงานของฮอร์โมนเอสโตรเจน มักจะให้ใช้ยานี้หลังจากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด หรือเคมีบำบัดเรียบร้อยแล้ว ในกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่มีผลพยาธิวิทยาว่าพบตัวรับฮอร์โมนเอสโตรเจนและ/หรือโปรเจสเตอโรน (Estrogen receptor , ER / Progesterone receptor , PR) ทั้งนี้เพื่อหวังผลในการเพิ่มอัตราการรอดชีวิต เพิ่มระยะเวลาการปลอดจากโรคและชะลอการกลับเป็นซ้ำของโรค
Thumb1

รู้จักเคมีบำบัด ชนิด อาการข้างเคียง การดูแลตนเอง

เคมีบำบัด (คีโม - chemotherapy) คือ การรักษาด้วยการใช้ยาเคมีเพื่อควบคุมหรือทำลายเซลล์มะเร็งไม่ให้มีการกระจายหรือลุกลามมากขึ้น การบริหารยาเคมีบำบัดสามารถทำได้หลายวิธี เช่น ในรูปแบบของ ยาฉีด ยารับประทาน เป็นต้น
Thumb1

5 เทคนิคลดน้ำหนัก เสริม Cheat Meal เพื่อเผาผลาญต่อเนื่อง

เผยเคล็ดลับ 5 เทคนิค ในการกินเพื่อลดน้ำหนัก จำง่าย ทำง่าย เรียกว่ายิ่งกินยิ่งผอมกันเลยทีเดียว น่าสนใจมากๆ เก็บมาฝากจากรพ.พญาไท ดังนี้
Thumb1

วิธีรักษาผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ล้างไตทางช่องท้อง - ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

การรักษาผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายมี 3 วิธีด้วยกัน คือ 1. การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Hemodialysis) 2. การล้างไตผ่านช่องท้อง (CAPD) 3. การปลูกถ่ายไต ทั่วโลกมีการศึกษาการรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ระหว่างวิธีล้างไตผ่านช่องท้อง และฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ปรากฎฏว่ามีคุณภาพการรักษาที่ไม่แตกต่างกัน แต่อาจจะแตกต่างกันในด้านการใช้ชีวิตประจำวัน การรับประทานอาหาร
Thumb1

พลังใบกระท่อม ไม่ได้ทำให้ดีดนะ

สรรพคุณตามภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านและวิถีชุมชน ใช้แก้ปวดเมื่อย ช่วยให้ทำงานทนแดดได้ดี ใช้แก้ไอ และ เป็นส่วนประกอบของตำรับยาแก้ท้องเสีย แก้บิด
Thumb1

Burn out คือหมดไฟในการทำงาน แต่ไม่ใช่โรคซึมเศร้า

อย่าเข้าใจผิดและอย่าเอาไปผสมปนเปกัน เพราะจะทำให้ตีความผิด วินิจฉัยผิด จนนำไปสู่การแก้ไขที่ไม่ถูกต้อง แนะนำพบแพทย์เพื่อให้คำแนะนำได้ สามารถไปยังรพ. ประกันสังคมที่มีสิทธิอยู่ได้ เพราะประกันสังคมครอบคลุมบริการแพทย์ด้านจิตเวช
Thumb1

5 คำถามประเมินความเสี่ยง ออฟฟิศซินโดรม

5 ข้อคำถามประเมินความเสี่ยง ว่าคุณเข้าข่ายจะเสี่ยงเป็น ออฟฟิศซินโดรม หรือไม่
Thumb1

โนโรไวรัส ไวรัสที่ทำให้เกิดการอักเสบของระบบทางเดินอาหาร

โนโรไวรัส (Norovirus) เป็นไวรัสที่ทำให้เกิดการอักเสบของระบบทางเดินอาหาร ไวรัสชนิดนี้ระบาดได้ง่ายและรวดเร็วแม้ร่างกายได้รับเชื้อในปริมาณเพียงเล็กน้อย ที่สำคัญทนต่อความร้อนและน้ำยาฆ่าเชื้อต่าง ๆ ได้ดี
Thumb1

การฉายรังสีรักษาผู้ป่วยมะเร็งส่วนต่างๆ (ศรีษะและคอ ช่องอก ช่องท้อง)

โรงพยาบาลมหาวชิราลงกรณธัญบุรี ได้จัดทำคู่มือการปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับ การรักษาด้วยรังสี เพื่อให้ผู้ป่วยหรือญาติได้ศึกษาเตรียมตัว สำหรับเข้ารับการรักษาได้อย่างถูกต้อง เข้าใจกระบวนการ ให้การดำเนินการเป็นไปอย่างราบรื่น ลดความเสี่ยง และเลี่ยงผลกระทบ ที่อาจมี
Thumb1

ฝุ่น PM 2.5 ที่มีค่าสูงเกินมาตรฐาน อาจส่งผลต่อดวงตา - รพ.เมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)

ในภาวะฝุ่น PM 2.5 ที่มีค่าสูงเกินมาตรฐาน รพ.เมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) กังวลอาจส่งผลต่อดวงตา หากมีอาการตาแห้ง ระคายเคืองตา ตาแดง ขี้ตามาก ตาสู้แสงไม่ได้ ตามัวลง ควรพบจักษุแพทย์
Thumb1

RSV โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ คล้ายไข้หวัด แต่จะรุนแรงกับเด็กและผู้สูงอายุ

โรคติดเชื้อทางเดินหายใจจากเชื้อไวรัส RSV เป็นโรคที่สามารถพบได้มาก ในช่วงปลายฤดูฝนไปจนถึงฤดูหนาว โรคชนิดนี้เป็นหนึ่งในโรคที่มีอาการคล้ายไข้หวัด แต่อาจก่อให้เกิดอาการรุนแรงได้ในเด็กเล็ก เด็กที่คลอดก่อนกำหนด และผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี รวมทั้งผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคหอบหืด โรคหัวใจ
Thumb1

โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ภัยใกล้ตัว รักษาไม่หาย แต่ป้องกันได้แต่แรกเริ่ม

รู้หรือไม่ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หรือโรคซีโอพีดี (COPD: Chronic Obstructive Pulmonary Disease) เป็นหนึ่งในสาเหตุของการเสียชีวิตในลำดับต้นๆ ของประชากรไทย โดยในปี 2561 มีผู้ป่วยด้วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังมากกว่า 3 ล้านคน และมีแนวโน้มการเสียชีวิตสูงขึ้นตามลำดับเช่นเดียวกับทั่วโลก ขณะที่ปัจจุบันคนไทย จำนวนมากยังขาดความตระหนักถึงภัยร้ายจากโรคดังกล่าว ดังนั้น การส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจต่อโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง จึงมีความสำคัญอย่างมาก
Thumb1

เราควรทำงานสัปดาห์ละกี่ชั่วโมงดีนะ - ดร.พนิต ภู่จินดา

ตอนขึ้นรถไฟฟ้ากลับบ้านตอนเย็น เห็นผู้ร่วมทางทั้งหลายต่างมีหน้าตาเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าจากการทำงานมาทั้งวัน ก็เกิดความสงสัยว่า "พวกเขาทำงานหนักเกินไปหรือเปล่านะ"
Thumb1

6 คำแนะนำ ท่องเที่ยวปลอดภัย ไร้กังวลหลังเปิดประเทศ

ธันวาคมแล้ว ฤดูกาลท่องเที่ยวส่งท้ายปีเริ่มคึกคัก ปีนี้มาพร้อมลมหนาว บรรยากาศกำลังสบาย หลายบ้านหลายครอบครัว และหลายๆคน กำลังวางแผนเดินทางท่องเที่ยวกันอยู่แน่นอน เพื่อความปลอดภัยและวางแผนท่องเที่ยวได้อย่างสบายใจ
Thumb1

พืชผักหลายชนิด มีฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันและต้านการอักเสบได้

ข้อมูลจากโครงการ "อาหารสมุนไพรเสริมสร้างสุขภาพ" โดย TTMIC กล่าวถึงการดูแลสุขภาพ ด้วยการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เช่น พืช ผัก ผลไม้ และสมุนไพร จะช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ที่อุดมไปด้วยวิตามินซีหรือสารต้านอนุมูลอิสระ

[Infographic] ความรู้เรื่องโรคอัลไซเมอร์ ผ่านสื่อรพ.ต่างๆ

โรคอัลไซเมอร์ เป็นภาวะสมองเสื่อมประเภทหนึ่งที่พบบ่อยที่สุด เกิดจากความบกพร่องของสมรรถภาพของสมอง ทําให้ความสามารถทางการรับรู้และเข้าใจลดลง เกิดความบกพร่องทางด้านความจํา ภาษา สมาธิ มักพบในผู้สูงอายุ ผู้มีโรคประจําตัวต่างๆ
Thumb1

เด็กป่วยโควิด-19 อาจเป็น MIS-C หลังหายแล้ว พ่อแม่ต้องสังเกต

MIS-C หรือ Multisystem Inflammatory Syndrome in Children คือ กลุ่มอาการอักเสบหลายระบบที่เป็นภาวะแทรกซ้อนรุนแรงหลังเด็กหายจากการติดเชื้อโควิด-19 เริ่มมีอาการได้ตั้งแต่ระยะหายจากโรคจนถึงหลังติดเชื้อ 2-6 สัปดาห์ ส่วนใหญ่พบในเด็กผู้ชายมากกว่าเด็กผู้หญิง