ข่าวสุขภาพ
ค้นหา รพ.-คลินิก-ร้านยาทั่วไทย ร้านยาคุณภาพของฉัน บริการสุขภาพ คลินิกเอกชน งาน รพ.
บริการวัคซีนโควิด บริการตรวจโควิด
ตำแหน่งงาน
ข่าวสุขภาพทั่วไป ข่าวธุรกิจสุขภาพไทย ข่าวธุรกิจสุขภาพรอบโลก กิจกรรม-บริการ รพ.ต่างๆ สิทธิสุขภาพชาวไทย สาระความรู้สุขภาพ Health Economy ท่องเที่ยวสุขภาพ กิจกรรม ESG CSR กิจกรรม Event บริจาค
น่าสนใจไทยแลนด์
English
About us เผยแพร่เนื้อหา สถิติเว็บไซต์ สำรวจความเห็นสุขภาพ โฆษณา
healthserv.net@gmail.com

โรงพยาบาลบุ่งคล้า

Bung Khla Hospital

Logo

ที่อยู่/ติดต่อ
217 หมู่ 2 ต.บุ่งคล้า บึงกาฬ 38000
โทรด่วน Call center 0807549616

✅ รับบัตรทอง

*ข้อมูลรวบรวมโดย Healthserv.net เพื่ออำนวยความสะดวกเบื้องต้นให้กับผู้ชมที่ต้องการข้อมูลสถานพยาบาล ไม่ใช่เว็บทางการของรพ./สถานพยาบาลแต่อย่างใด แนะนำให้ไปยังเว็บไซต์/เฟซบุ๊ค หรือช่องทางติดต่อของรพ./สถานพยาบาลนั้นๆ โดยตรง

HealthServ ชวนร่วมตอบแบบสอบถาม สำรวจความต้องการบริการสุขภาพของคนไทย

HealthServ ชวนร่วมตอบแบบสอบถาม สำรวจความต้องการบริการสุขภาพของคนไทย

ผลสำรวจ

ข่าวสาร-สาระ-ข้อมูลบริการ โรงพยาบาลบุ่งคล้า

ข่าวสาร ข้อมูลบริการ บทความ สาระประโยชน์

  • ยังไม่มีข่าวสาร ข้อมูลจากที่นี่
[ทั้งหมด]
 
 

 ประวัติโรงพยาบาลบุ่งคล้า

โรงพยาบาลบุ่งคล้า ตั้งอยู่เลขที่ 217 หมู่ที่ 2 ตำบลบุ่งคล้า อำเภอบุ่งคล้า จังหวัดบึงกาฬ เปิดให้บริการ ผู้ป่วย เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2538 เป็นโรงพยาบาลขนาด 10 เตียง ปัจจุบันอยู่ระหว่างขออนุมัติขยายเป็น โรงพยาบาลขนาด 30 เตียง มีเนื้อที่อยู่ใน นส.3ก. เลขที่ 67 จำนวน 6-0-67 ไร่ ของนายสมบูรณ์ พิมพ์โคตร,นส.3ก. เลขที่ 68 เนื้อที่จำนวน 18-2-25 ไร่ ของนายดี โคตรรัตน์ และนส.3ก.เลขที่ 69 เนื้อที่จำนวน 2-3-16 ไร่ ของนายคุณ ภูมิสุข รวมพื้นที่ 27 ไร่ 2 งาน 8 ตารางวา ห่างจากจังหวัดบึงกาฬ 42 กิโลเมตร ให้บริการครอบคลุมทั้งด้านการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การบำบัดรักษา การป้องกันการรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ มีจำนวนประชากร ในความรับผิดชอบ ประมาณ 13,000 คน ซึ่งอยู่ในเขตพื้นที่ 25 หมู่บ้าน 3 ตำบล คือ ตำบลบุ่งคล้า ตำบลหนองเดิ่น และตำบลโคกกว้าง ปัจจุบันมีแพทย์ 2 คน ทันตแพทย์ 1 คน เภสัชกร 2 คน พยาบาลวิชาชีพ 17 คน และเจ้าหน้าที่อื่น รวม 72 คน เนื่องจากกระแสความตื่นตัวในการดูแลสุขภาพ ทำให้มีผู้มารับบริการเพิ่มมากขึ้น และมีบริการทางการแพทย์เพิ่มมากขึ้น เช่น บริการตรวจสุขภาพประจำปีของข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ และเอกชนต่าง ๆ รวมทั้งการเพิ่มบริการด้านการแพทย์ทางเลือกและการแพทย์แผนไทย ทำให้มีผู้รับบริการผู้ป่วยนอกเฉลี่ยปีละ 31,025 คน ผู้ป่วยในเฉลี่ยปีละ 3,650 คน จำนวนผู้ป่วยทันตกรรม ปีละ 3,9