ข่าวสุขภาพ
ค้นหา รพ.-คลินิก-ร้านยาทั่วไทย ร้านยาคุณภาพของฉัน บริการสุขภาพ คลินิกเอกชน งาน รพ.
บริการวัคซีนโควิด บริการตรวจโควิด
ตำแหน่งงาน
ข่าวสุขภาพทั่วไป ข่าวธุรกิจสุขภาพไทย ข่าวธุรกิจสุขภาพรอบโลก กิจกรรม-บริการ รพ.ต่างๆ สิทธิสุขภาพชาวไทย สาระความรู้สุขภาพ Health Economy ท่องเที่ยวสุขภาพ กิจกรรม ESG CSR กิจกรรม Event บริจาค
น่าสนใจไทยแลนด์
English
About us เผยแพร่เนื้อหา สถิติเว็บไซต์ สำรวจความเห็นสุขภาพ โฆษณา
healthserv.net@gmail.com

ความรู้สุขภาพ

สาระ ความรู้ บทความ เรื่องสุขภาพด้านต่างๆ จากหน่วยงานรัฐ มหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญ เว็บไซต์ social media สื่อต่างๆ ฯลฯ นำมาเผยแพร่เพื่อเป็นประโยชน์กับผู้สนใจ ศึกษาเรียนรู้ ป้องกันและดูแลสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ

เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร บริการ บทความ ส่งมาที่ healthserv.net@gmail.com Home / ความรู้สุขภาพ
Thumb1

หลัก 10 ประการ เพื่อสุขอนามัยที่ดีในการนอนหลับ

วันนอนหลับโลก 2567 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม 2567 “Sleep Equity Global Health นอนหลับสมดุล เป็นต้นทุนสุขภาพสากล” กรมอนามัยแนะหลัก 10 ประการ เพื่อสุขอนามัยที่ดีในการนอนหลับ ย้ำ แต่ละวัยมีเวลาการนอนที่ต่างกัน ควรนอนหลับให้เพียงพอและเหมาะสมกับวัย
Thumb1

แพทย์แนะวิธีรับมือ ฝุ่น PM 2.5 สำหรับคนป่วยเป็นโรคภูมิแพ้

โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ เผย ฝุ่น PM 2.5 มีความสัมพันธ์กับโรคภูมิแพ้เป็นอย่างมาก เนื่องจากฝุ่นนี้จะก่อให้เกิดการอักเสบของเยื่อบุทางเดินหายใจมากยิ่งขึ้น ผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้อยู่แล้วจึงมีอาการกำเริบได้ง่ายเมื่อได้รับ PM 2.5 การได้รับฝุ่น PM 2.5 ยังสามารถทำให้ผู้ป่วยมีอาการแพ้ต่อสารก่อภูมิแพ้ตัวเดิมได้มากขึ้น และกระตุ้นให้เกิดการแพ้ต่อสารก่อภูมิแพ้ชนิดใหม่ได้อีกด้วย
Thumb1

ศูนย์ชีวาภิบาล สถานชีวาภิบาลชุมชน กุฏิชีวาภิบาล

การจัดตั้งสถานชีวาภิบาล เป็นหนึ่งในนโยบายมุ่งเน้น เพื่อการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ป่วยระยะท้าย รวมถึงผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียง ให้ได้รับการดูแลอย่างเป็นองค์รวมครอบคลุมทั้ง 4 มิติคือ กาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ อย่างต่อเนื่องจากโรงพยาบาลสู่บ้าน ชุมชน โดยไม่ถูกทอดทิ้งไว้เพียงลำพัง ลูกหลานสามารถทำมาหาเลี้ยงชีพได้ตามปกติ อันเป็นการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตผู้ป่วยนับจนวาระสุดท้ายของชีวิต
Thumb1

รวม 5 ข้อควรรู้ของการเปิดหัวตา เทคนิคตอบโจทย์สำหรับคนตาเล็ก

รู้หรือไม่? สาเหตุสำคัญที่ทำให้หลายคนกลายเป็นสาวตาจิก หนุ่มหน้าดุ และขาดความสดใส อาจมาจาก ‘ปัญหาตาเล็กและหัวตาแคบ’ ที่ทำให้ภาพลักษณ์และบุคลิกภาพกลายเป็นคนหน้าหยิ่ง ดูไม่สบอารมณ์ตลอดเวลา จนอาจทำให้คนรอบข้างเกร็งจนไม่กล้าเข้าใกล้เลยก็เป็นได้
Thumb1

ถ้ามุ่งจะลดน้ำหนัก ต้องรู้จัก ฮอร์โมนหิว-อิ่ม

รศ.พญ.อภัสนี บุญญาวรกุล อายุรแพทย์โรคต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม รพ.พระมงกุฎเกล้า มาให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับ ฮอร์โมนหิว-อิ่ม อีกปัจจัยที่ต้องรู้เพื่อช่วยให้การลดน้ำหนักทำได้อย่างใจหมาย
Thumb1

นอนครบ 8 ชั่วโมงแต่ทําไมยังเพลีย?

คนส่วนใหญ่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับการนอนหลับว่า หากจำนวนชั่วโมงในการนอนหลับนานเกินกว่า 7 ชั่วโมง จะถือว่าเป็นการนอนหลับที่ดี แต่จริงๆแล้วคุณภาพการนอนสำคัญกว่าระยะเวลาในการนอนเป็นอย่างมาก และเมื่อเรามีคุณภาพการนอนที่ดีเท่าไหร่ ก็จะสามารถสร้างสุขภาวะโดยรวมและความเป็นอยู่ที่ดีได้มากเท่านั้น
Thumb1

ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส และวัคซีนพีซีวี PCV

โรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส มีสาเหตุจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เป็นโรคที่พบได้บ่อย ในทุกกลุ่มอายุ และมักพบได้บ่อยในช่วงฤดูฝนและฤดูหนาว มักทำให้เกิดโรคปอดอักเสบ หูชั้นกลาง อักเสบ หลอดลมอักเสบ ไซนัสอักเสบ ผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและมีโอกาสเกิดโรคแบบรุนแรง ได้แก่ เด็กเล็กโดยเฉพาะเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุ และผู้ที่มี โรคประจำตัวหรือมีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
Thumb1

ดูแลตนเองอย่างไร ให้ปลอดภัยจากฝุ่น PM 2.5 แนะวิธีลดฝุ่นภายในบ้าน-ที่ทำงาน

สำนักอนามัยกรุงเทพ มีคำแนะนำการดูแลตนเองในภาวะที่กรุงเทพและประเทศไทย กำลังเผชิญกับภัยจากฝุ่นPM2.5 ในช่วงฤดูหนาวปลายปีต่อต้นปี พร้อมคำแนะนำลดฝุ่นภายในบ้าน และที่ทำงาน เพื่อสุขภาพที่ดี
Thumb1

ปวดหลังขณะเปลี่ยนอิริยาบถ ส่งสัญญาณเตือนภาวะกระดูกสันหลังเคลื่อน!

แพทย์เฉพาะทางแนะหากมีอาการ “ปวดหลัง” ขณะที่เปลี่ยนอิริยาบถควรพบแพทย์ด่วน นั่นถือเป็นสัญญาณเตือนว่าคุณกำลังเป็นโรคกระดูกสันหลังเคลื่อน
Thumb1

อายุน้อยก็หมอนรองกระดูกเสื่อมได้ เช็กด่วน! คุณกำลังมีพฤติกรรมเสี่ยงอยู่หรือไม่

หมอนรองกระดูก คือ อวัยวะที่คั่นอยู่อยู่ระหว่างปล้องกระดูกสันหลัง มีหน้าที่หลักในการรับน้ำหนักและแรงกระแทกที่ส่งมาจากด้านบน ช่วยให้ร่างกายเราสามารถเคลื
Thumb1

ออฟฟิศซินโดรม ชนวนเกิดโรคกระดูกสันหลังเสื่อม

ออฟฟิศซินโดรม รอยโรคที่มาจากพฤติกรรม รักษาช้าเสี่ยงกระดูกสันหลังเสื่อม แพทย์เฉพาะทางด้านกระดูกสันหลังแนะเร่งปรับพฤติกรรมก่อนจะสายเกินแก้
Thumb1

ไขข้อข้องใจ! หมอนรองกระดูกยื่น และกระดูกสันหลังเคลื่อน รักษาต่างกัน?

ปวดหลังเหมือนกัน แต่การรักษาต่างกัน แพทย์เฉพาะทางด้านกระดูกสันหลังไขข้อข้องใจ สภาวะหมอนรองกระดูกยื่น และกระดูกสันหลังเคลื่อน ผู้ป่วยจะมีอาการปวดหลังเหมือนกันแต่การรักษาจะต่างกัน ซึ่งการหาสาเหตุของโรคจะนำไปสู่การรักษาที่ตรงจุด
Thumb1

โรคใหลตาย ภัยเงียบที่ชายไทยควรใส่ใจ ก่อน หลับไม่ตื่น

แพทย์ จุฬาฯ วิจัย เผยคนไทยจำนวนไม่น้อยมียีนโรคใหลตาย แนะผู้มีประวัติครอบครัว “หลับไม่ตื่น” สังเกตอาการเสี่ยง และตรวจวินิจฉัยเพื่อรักษาแต่เนิ่นๆ โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ พร้อมปรับพฤติกรรมเพื่อลดโอกาสการเสียชีวิต
Thumb1

อาหาร 8 ชนิดที่ห้ามกินกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ดื่มแล้วมึนเมา แอลกอฮอล์ออกฤทธิ์โดยตรงต่อระบบประสาทส่วนกลาง มีฤทธิ์กดประสาท ส่งผลต่อการแสดงพฤติกรรมรูปแบบต่างๆ ตามมา เมื่อดื่มแอลกอฮอล์ก็จะมีความอยากอาหารบ้าง แต่รู้หรือไม่ว่าอาหารหลายชนิดไม่เหมาะกับการกินกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เอาเสียเลย เป็นโทษขั้นสุดก็ว่าได้ อาหาร 8 อย่างที่ห้ามกินกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีอะไรบ้างไปดูเลย
Thumb1

อาหารและเครื่องดื่มที่ควรหลีกเลี่ยงหรือจำกัดการบริโภคสำหรับเด็ก

CDC สหรัฐ แนะนำเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มที่ควรหลีกเลี่ยงหรือจำกัดการบริโภคสำหรับเด็กเอาไว้ การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพเป็นเรื่องของความสมดุล ไม่จำเป็นต้องเติมเกลือหรือน้ำตาลในอาหารของลูก นอกจากนี้ยังมีอาหารและเครื่องดื่มบางอย่างที่ไม่ปลอดภัยสำหรับบุตรหลานของคุณที่จะรับประทาน และอื่นๆ ที่ไม่ได้เป็นทางเลือกที่ดีต่อสุขภาพเท่ากับอาหารอื่นๆ เครื่องดื่ม-อาหารที่ควรหลีกเลี่ยงหรือจำกัดสำหรับสำหรับเด็กเหล่านั้นมีอะไรบ้าง
Thumb1

อาหารที่ไม่ควรกินคู่กัน

อาหารบางชนิดไม่เหมาะที่จะรับประทานด้วยกัน เนื่องจากมีส่วนประกอบและคุณสมบัติที่แตกต่างกัน เมื่อรวมกันแล้วอาจกลายเป็นอุปสรรคต่อระบบการย่อยและดูดซึม หรือส่งผลกระทบต่อร่างกายได้ อาหารที่ไม่ควรกินคู่กัน มีคู่ไหนบ้าง ควรรู้ไว้เพื่อความปลอดภัย ข้อมูลจาก กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
Thumb1

ไข้หวัดใหญ่-ไข้เลือดออก-โควิด อาการต่างกันอย่างไร

ช่วงฤดูฝนของไทยเป็นช่วงที่มีโรคเกิดขึ้นมาในประชาชนทุกวัยโดยเฉพาะเด็ก โรคที่พบเป็นหลักคือโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ ได้แก่ โรคไข้หวัด โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไวรัส RSV และโรคโควิด ที่ยังไม่หายไปแต่จะยังคงอยู่เป็นโรคประจำถิ่นโรคใหม่ต่อไป แล้วจะสังเกตอย่างไรว่าหากมีอาการเป็นไข้จะเป็นโรคไหน รพ.วิมุติมีคำแนะนำข้อสังเกตให้แล้ว
Thumb1

ทำไม RSV ถึงต้องเฝ้าระวัง? (โรคติดเชื้อทางเดินหายใจจากเชื้อไวรัส)

เมื่อเข้าสู่ช่วงปลายฝนต้นหนาว ชื่อของ RSV (Respiratory Syncytial Virus) กลับมาขึ้นแท่นเชื้อไวรัสที่ต้องเฝ้าระวังในกลุ่มผู้ปกครองที่มีเด็กเล็ก เพราะเป็นสาเหตุสำคัญของโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบนและส่วนล่าง สามารถแพร่ระบาดและก่อให้เกิดอาการรุนแรงในเด็กเล็กโดยเฉพาะในช่วงวัยสองปีแรก โดยข้อมูลจากกรมควบคุมโรคในปีที่ผ่านมา[1] พบการติดเชื้อไวรัส RSV มากที่สุดในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ด้วยสัดส่วนถึง 52% และในกลุ่มเด็กอายุ 3-5 ปี หรือวัยอนุบาล อีกราว 34% ซึ่งรวมแล้วพบการระบาดในกลุ่มเด็กเล็กที่อายุต่ำกว่า 5 ปี นั้นสูงเกินกว่า 80% เลยทีเดียว
Thumb1

ไข้หวัด ไอ เจ็บคอ อย่าปล่อยให้เรื้อรังเสี่ยงเป็น หลอดลมอักเสบ

ปัญหาสุขภาพในกลุ่มระบบทางเดินหายใจ เช่น อาการไอ เจ็บคอ ไข้หวัด ซึ่งสามารถพบผู้ติดเชื้อได้ทุกช่วงวัย ที่มักเป็นต้นตอทำให้เกิดปัญหาสุขภาพอื่นๆ ร่วมด้วย และกระหน่ำมาแบบแพ็คเกจทำให้ร่างกายอ่อนแอ เป็นอุปสรรคต่อการใช้ชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะอาการไอ เจ็บคอ ซึ่งหากปล่อยให้มีอาการเรื้อรังอาจส่งผลเสียลุกลาม
Thumb1

หญิงสูงอายุ เสี่ยงเกิดภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย มากกว่าชายเกือบ 2 เท่า

ในแต่ละวัน เราต่างก็แก่ตัวลงเรื่อย ๆ ซึ่งถือเป็นเรื่องธรรมชาติที่ไม่ช้าก็เร็วเราทุกคนต้องเผชิญ แต่เราสามารถดูแลตัวเองและคนที่เรารักเพื่อให้มีสุขภาพที
Thumb1

[infographic] โรคไข้เลือดออก..อันตราย

หากมีผู้ป่วยมีไข้เฉียบพลัน ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อ ปวดข้อ ปวดกระดูก มีผื่น คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ปวดท้อง แน่นท้อง ร่วมกับอาการอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วล่ะก็…ให้รีบมาพบแพทย์ที่โรงพยาบาลเพื่อรับการตรวจร่างกายและรักษา
Thumb1

วัคซีนสำหรับคนท้อง

สำหรับคนท้องนั้นก็มีวัคซีนที่จำเป็นที่จะต้องได้รับเพื่อช่วยลดความเสี่ยงที่จะติดโรคต่าง ๆ แต่วัคซีนมีหลายชนิด บางชนิดไม่แนะนำให้ฉีดในคนท้องเพราะอาจเกิดอันตรายได้เนื่องจากส่งผลต่อทารก เช่น วัคซีนป้องกันอีสุกอีใส วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบ วัคซีนป้องกันโรคหัด คางทูม หัดเยอรมัน โปลิโอ วัคซีนป้องกันวัณโรค
Thumb1

สารพัดวิธี ลดโซเดียม ลดเค็ม ลดโรค​​

โซเดียมเป็นเกลือแร่ที่มีความสำคัญกับร่างกาย แต่ร่างกายมนุษย์ไม่สามารถสร้างโซเดียมขึ้นเองได้ จึงจำเป็นต้องรับจากอาหารที่กินเข้าไปแต่ละวัน โซเดียมเป็นส่วนประกอบในอาหารธรรมชาติแทบทุกชนิดโดยเฉพาะเนื้อสัตว์ นม ไข่ ผักผลไม้ ธัญพืช และถั่วเมล็ดแห้ง และในอาหารไม่ธรรมชาติ (อาหารแปรรูป) หลายชนิดในปัจจุบัน อาทิ เครื่องปรุงรสชนิดต่างๆ อาหารสำเร็จรูป อาหารแปรรูป เบเกอรี่ ขนมปัง ขนมที่มีการเติมผงฟู และเครื่องดื่มบางชนิดด้วย
Thumb1

มนุษย์แม่เสี่ยงกระดูกพรุน แพทย์ชี้โอกาสกระดูกหักสูงหากไม่เร่งดูแล

"โรคกระดูกพรุน เป็นภัยเงียบที่ไม่แสดงอาการ และไม่มีสัญญาณเตือนก่อนล่วงหน้า เมื่อผู้ป่วยประสบภาวะกระดูกพรุนจะมีโอกาสกระดูกหักได้ง่ายขึ้น หากเกิดร่วมกับกระดูกสะโพกหักจะมีอัตราการเสียชีวิตในปีแรกมากถึง 17% และมีสัดส่วน 80% ที่ไม่สามารถกลับมาใช้ชีวิตได้เหมือนเดิม"
Thumb1

เช็กลิสต์ 10 ข้อที่ควรรู้ก่อนทำศัลยกรรมดึงหน้า

หากจะพูดถึงการทำศัลยกรรมดึงหน้าในปัจจุบัน กลายเป็นศัลยกรรมลำดับต้นที่กำลังได้รับความสนใจจาก คนทุกเพศที่ผิวหน้าหย่อนคล้อย มีริ้วรอย เพราะหากอยากให้ผิวหน้าถอยกลับไปเต่งตึงสมวัยหรืออ่อนกว่าวัยอีกครั้ง ทางที่เห็นผลทันตาที่สุด คือ การทำศัลยกรรมดึงหน้า
Thumb1

คลอดลูกในน้ำ ทางเลือกหนึ่งของการคลอดวิถีธรรมชาติ

โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ เผย การคลอดลูกในน้ำเป็นที่นิยมแพร่หลายในต่างประเทศ โดยการคลอดด้วยวิธีนี้จะช่วยให้คุณแม่รู้สึกผ่อนคลาย อีกทั้งยังอาจช่วยลดความเจ็บปวดขณะคลอด ซึ่งอาจส่งผลให้คุณแม่คลอดลูกได้ง่ายขึ้น ทั้งนี้ การคลอดลูกในน้ำควรอยู่ในความดูแลของสูติแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และจะต้องมีการเตรียมความพร้อมทั้งในเรื่องของสถานที่ คุณแม่ และทารกด้วย
Thumb1

ความหวาน มีประโยชน์หรือโทษ ขึ้นอยู่กับปริมาณ

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แนะ น้ำตาลมีประโยชน์ หากบริโภคในปริมาณที่เหมาะสม ชี้ ไม่ว่าจะน้ำตาลธรรมชาติหรือน้ำตาลเทียม ก็ส่งผลกระทบกับร่างกายได้ หากบริโภคในปริมาณที่มากเกินไป
Thumb1

เห็ดขี้ควาย (รักษาหดหู่ ซึมเศร้า) เห็ดวิเศษ รักษาหดหู่ ซึมเศร้า

เห็ดขี้ควาย (psilocybin) กลับมาสู่ความสนใจในระดับนานาชาติ จากการศึกษาทดลองเพื่อนำมาใช้ในการรักษาโรคซึมเศร้า บรรเทารักษาอาการ PTSD แม้ว่าในไทย เห็ดขี้ควายจะเป็น นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา เล่าถึง เห็ดขี้ควาย เห็ดวิเศษ พืชสายเคลิ้ม กลายเป็นมหัศจรรย์ทางการแพทย์รักษาหดหู่ ซึมเศร้า (ตอนที่ 1)
Thumb1

สุขภาพที่ดีจากภายในสู่ภายนอก เริ่มต้นจาก "ลำไส้"

โดยทั่วไปแล้ว 90% ของร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จุลินทรีย์หากแบคทีเรียในลำไส้เสียสมดุล สามารถเพิ่มความเสี่ยงการเกิดปัญหาสุขภาพต่าง ๆ ได้มากมาย เช่น ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอลง, ภูมิแพ้, แพ้อาหาร, มะเร็งบางชนิด, ท้องผูก, ฮอร์โมนไม่สมดุล, แก่เร็ว, และไขมันในเลือดสูง เป็นต้น การตรวจจุลินทรีย์ในลำไส้จึงมีความสำคัญ เพราะจะทำให้รู้สาเหตุของปัญหาสุขภาพที่เรื้อรังและยังช่วยตรวจดูความสมดุลของจุลินทรีย์อีกด้วย
Thumb1

7 วัน 7 ท่าออกกำลังในผู้สูงอายุ ทำง่าย-ทำได้ทุกวัน

รพ.กรุงเทพแนะนำ 7 วัน 7 ท่าออกกำลังในผู้สูงอายุ ด้วยภาพกราฟฟิคสวยงามสะดุดตา ชวนผู้สูงอายุฝึกทำทุกวัน เพราะทำง่าย-ทำได้ทุกวัน ปลอดภัยทำได้ด้วยตนเอง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และความคล่องตัวของการเคลื่อนไหว