ข่าวสุขภาพ
ค้นหา รพ.-คลินิก-ร้านยาทั่วไทย ร้านยาคุณภาพของฉัน บริการสุขภาพ คลินิกเอกชน งาน รพ.
บริการวัคซีนโควิด บริการตรวจโควิด
ตำแหน่งงาน
ข่าวสุขภาพทั่วไป ข่าวธุรกิจสุขภาพไทย ข่าวธุรกิจสุขภาพรอบโลก กิจกรรม-บริการ รพ.ต่างๆ สิทธิสุขภาพชาวไทย สาระความรู้สุขภาพ Health Economy ท่องเที่ยวสุขภาพ กิจกรรม ESG CSR กิจกรรม Event บริจาค
น่าสนใจไทยแลนด์
English
About us เผยแพร่เนื้อหา สถิติเว็บไซต์ สำรวจความเห็นสุขภาพ โฆษณา
healthserv.net@gmail.com

9 ด้าน 9 ดี ก้าวสู่ปี 66 กรุงเทพฯ เมืองน่าอยู่

9 ด้าน 9 ดี ก้าวสู่ปี 66 กรุงเทพฯ เมืองน่าอยู่ HealthServ.net
9 ด้าน 9 ดี ก้าวสู่ปี 66 กรุงเทพฯ เมืองน่าอยู่ ThumbMobile HealthServ.net

ทีมผู้ว่ากรุงเทพมหานคร 4 ท่าน ที่ได้รับมอบหมายดูแลงานด้านต่างๆ มองย้อนไปยังผลงาน 6 เดือนที่ผ่านมา และมองไปข้างหน้ายังปี 2566 “9 ด้าน 9 ดี ก้าวสู่ปี 66 กรุงเทพฯ เมืองน่าอยู่” เพื่อเป็นของขวัญให้คนกรุงฯ พร้อมขอบคุณประชาชนและทุกภาคส่วน ที่ร่วมกันพัฒนาเมือง เพื่อให้กรุงเทพฯเป็นเมืองที่น่าอยู่สำหรับทุกคน

9 ด้าน 9 ดี ก้าวสู่ปี 66 กรุงเทพฯ เมืองน่าอยู่ HealthServ

รศ.ดร.ทวิดา กมลเวชช - ดูแลด้านภัยพิบัติและสาธารณสุข

"หลังจาก 99 วันที่ผ่านมา สิ่งหนึ่งที่พูดถึง คือ ทำอย่างไรให้เป้าหมายของผู้ว่าฯ ชัชชาติ จากนโยบาย 9 ด้าน 9 ดี เชื่อมโยงไปสู่ยุทธศาสตร์ การพัฒนากรุงเทพมหานคร 7 มิติ โดยออกมาเป็นเป้าหมายให้กับคนกรุงเทพฯ 74 เรื่อง นำไปสู่ 74 OKRs ของหน่วยงานเรียบร้อยแล้ว พร้อมกำหนด KPIs ของหน่วยงาน และให้ทำคำของบประมาณในปี 67 ใช้วิธีคิดงบประมาณฐานศูนย์ Zero Baseds เพื่อมองเป้าหมายที่ประชาชนจะได้ และพิจารณาว่าอะไรควรดำเนินการต่อเพื่อมุ่งไปสู่เป๋าหมายเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคน" 

รศ.ดร.ทวิดา กมลเวชช
รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ดูแลด้านภัยพิบัติและสาธารณสุข
กล่าวในงานอัพเดทความคืบหน้านโยบาย 9 ด้าน 9 ดี ก้าวสู่ปี 66 กรุงเทพฯ เมืองน่าอยู่
21 ธันวาคม 2565
 การจ้างงานคนพิการ
- กทม. จ้างงานคนพิการแล้ว 323 คน ภายในมีนาคม 2566 เพิ่มอีก 4 ตำแหน่ง 11 อัตรา
 
 
พัฒนาทักษะเดิม เพิ่มเติมทักษะใหม่
นักจัดการเมือง นักสุขภาพเมือง นักสิ่งแวดล้อมเมือง นักปลอดภัยเมือง วิศวกรเมือง
 
 
กระจายอำนาจ
- เพิ่มประสิทธิภาพการบริการด้านสังคมและคุณภาพชีวิตของสำนักงานเขตสู่ประชาชนในพื้นที่ (Sandbox) พื้นที่น้ำร่อง เขตคลองเตย และเขตบางเขน
 
 
One Stop Service
- เปิดให้บริการ 9 แห่ง+2 แห่ง ในปี 2566
- ดำเนินการออกบัตรประจำตัวคนพิการ จำนวนรวมทั้งสิ้น 2,345 ราย
 
 
 
Telemedicine
- เปิดให้บริการ 9 แห่ง+2 แห่ง ในปี 2566 มีผู้รับบริการ 45,583 ราย
- เปิดใช้งานระบU e -Referral ระหว่างศูนย์บริการสารารณสุข 69 แห่ง ไปยังโรงพยาบาลในสังกัดจำนวน 6 แห่ง จำนวน 5,000+ เคส
- นำร่องใช้งานจริงแล้วที่ ดูสิตโมเดล และราชพิพัฒน์โมเดล
 
 
Sandbox สาธารณสุข
- ดุสิตโมเดล ครอบคลุม 4 เขต ดูสิต พระนคร บางชื่อ และบางพลัด Telemedicine 1,391 คน / e-Referral 3,361 คน / V EMS 1,391 คน
- ราชพิพัฒน์โมเดล ครอบคลุม 5 เขต ทวีวัฒนา บางแค หนองแขม ตลิ่งชัน ภาษีเจริญ Telemedicine 67,330 คน / Commu-lance 4,337 คน / Motor-lance 494 คน / เยี่ยมบ้านออนไลน์ 941 คน
 
 
BKK Pride Clinic
เปิดให้บริการ 11 แห่ง+5 แห่ง ใน ร.ค. 2565 ผู้รับบริการ 4,619 ราย
 
 
BKK Risk Map
แผนที่เสี่ยงภัยในกรุงเทพมหานครพร้อมเปิดข้อมูล 5 ภัย (ระยะที่ 1 ) ได้แก่ อุทกภัย อัคคีภัย จุดเสี่ยงและอันตราย ความปลอดภัยทางถนนมลพิษทางอากาศ PM 2.5
 
 
ยกระดับศักยภาพให้ชุมชนปลอดภัย
- เพิ่มประปาหัวแดง 248 จุดในพื้นที่เสี่ยงสูง จากทั้งหมด 23,598 จุด
- เพิ่มเครื่องดับเพลิงในชุมชนแออัด 451 ชุมชน รวมไม่น้อยกว่า 268 ถัง
- เพิ่มรถกู้ภัยทางถนน 15 คัน
- เร่งยกระดับสถานีดับเพลิงหลัก 37 แห่ง 11 สถานีย่อย
- ร่วมกับมูลนิธิกู้ชีพกู้ภัย 7 แห่ง แบ่งโซนการปฏิบัติการภายใต้มาตรฐานเดียวกัน
- พัฒนาแผนอำนวยการเหตุการณ์สำหรับ ผอ.เขต/ผู้ช่วย ผอ.เขต
- แผนและปฏิทินซ้อมดับเพลิง อพยพ ระดับชุมชน ปี 66 นำร่องช้อม 438 ชุมชน

รศ.ดร.วิศณุ ทรัพย์สมพล - ดูแลด้านโครงสร้างพื้นฐานและการจราจร

"ในปีนี้ปริมาณน้ำฝนสะสมมากกว่าค่าเฉลี่ย 30 ปี ถึง 40% ทำให้กรุงเทพมหานครต้องเพิ่มความสามารถในการระบายน้ำให้มากขึ้น จากการถอดบทเรียนน้ำท่วมที่ผ่านมา สิ่งที่เราทำได้คือการเร่งระบายให้น้ำที่มีนั้นออกไปสู่คลองและแม่น้ำให้ได้เร็วที่สุด ผ่านการลอกท่อ จุดลอกคลองและปรับปรุงสถานีสูบน้ำ เพื่อให้สามารถระบายน้ำลงแม่น้ำเจ้าพระยาได้เร็วขึ้น ซึ่งการระบายน้ำของ กทม. ในปีหน้าจะดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา"

รศ.ดร.วิศณุ ทรัพย์สมพล
รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ดูแลด้านโครงสร้างพื้นฐานและการจราจร
กล่าวในงานอัพเดทความคืบหน้านโยบาย 9 ด้าน 9 ดี ก้าวสูปี 66 กรุงเทพฯ เมืองน่าอยู่
21 ธันวาคม 2565
 น้ำท่วม
- ลอกท่อ 3,357 กม. จาก 6,564 กม.+3,875 กม. ในปี 2566
- ปรับปรุงบ่อสูบน้ำ 12 แห่ง เพิ่มปั๊ม 18 ตัว+ปรับปรุงบ่อสูบน้ำ 69 แห่งเพิ่มปั๊ม 124 ตัว (mobile pump) ในปี 2566
- ขุดลอกคลอง 159 กม.+ 183 กม. ในปี 2566
- ปรับปรุงและซ่อมแซมสถานีสูบน้ำ 23 แห่ง และอุโมงค์ระบายน้ำปี 2566 ปรับปรุงและช่อมแชมสถานีสูบน้ำ 39 แห่งและอุโมงค์ระบายน้ำเพิ่มปั๊ม 30 ตัว
- ซ่อมแชมแนวป้องกันน้ำท่วมและแนวฟันหลอ 21 แห่ง+25 แห่งในปี 256
 
 
 
ทางเท้า
- ปรับปรุงทางเท้า 1,000 กม. ดำเนินการแล้วเสร็จ 150 กม.ปี 2566 จะดำเนินการ 250 กม.
- ร้องเรียนเรื่องทางเท้า 20,107 รายการ ดำเนินการเสร็จสิ้น 12,695 รายการ คิดเป็น 63%
- ปรับปรุงทางวิ่ง 500 กม. ดำเนินการแล้วเสร็จ 20 กม.+100 กม.(10 เส้นทาง) ในปี 2566
 
 
 
จัดระเบียบสื่อสาร 
- ดำเนินการแล้วเสร็จ 161.56 กม. (37 เส้นทาง)+442.62 กม. ในปี 2566
 
 
นำสายสื่อสารลงดิน
- ดำเนินการแล้วเสร็จ 6.3 กม.+29.2 กม. ในปี 2566
 
 
จุดเสี่ยงอุบัติเหตุ
- ล้างทำความสะอาด 421 แห่ง+500 แห่ง ในปี 2566
- ทาสีโคลด์พลาสติก 145 แห่ง+500 แห่ง ในปี 2566
- ปรับปรุงทางม้าลายที่ซีดจาง/ชำรุด 1,000 แห่ง+500แห่ง ในปี 2566
- ติดตั้งสัญญาณไฟจราจรทางแยก 4 แห่ง+2 แห่งในปี 2566
- ติดตั้งสัญญาณไฟจราจรทางข้ามชนิดกดปุ่ม 85 แห่ง
- ติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบเตือนทางข้าม 50 แห่ง+50 แห่งในปี 2566
 
 
จุดฝืดรถติด
กำหนดแนวทางแก้ไขจุดฝืดรถติด จำนวน 266 จุด โดย
- กวดขันวินัยจราจร ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ (soft power)
- แนวทางตามหลักวิศวกรรมจราจร (ปรับปรุงเชิงกายภาพ)
- ใช้เทคโนโลยีช่วยบริหารจัดการไฟจราจร (Intelligent Traffic Management System): ITMS

นายจักกพันธุ์ ผิวงาม - ดูแลด้านโครงสร้างพื้นฐานและการจราจร

"ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้ให้ความสำคัญกับปัญหาฝุ่น PM 2.5 โดยกำหนด 16 มาตรการ
ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปปฏิบัติ สิ่งที่เราดำเนินการ คือ ตรวจ ติดตาม และแก้ไข ลงพื้นที่สำรวจหาสาเหตุ ปัญหาของฝุ่นว่าเกิดจากอะไร รวมทั้งบูรณาการความร่วมมือภาครัฐ/ภาคเอกชน เพื่อแก้ไขปัญหา ให้นโยบายสามารถเดินหน้าต่อไปได้ในอนาคต"

นายจักกพันธุ์ ผิวงาม
รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ดูแลด้านโครงสร้างพื้นฐานและการจราจร
กล่าวในงานอัพเดทความคืบหน้านโยนาย 9 ด้าน 9 ดี ก้าวสูปี 66 กรุงเทพฯ เมืองน่าอยู่
21 ธันวาคม 2565
ฝุ่น PM 2.5
ตรวจ : สถานที่ต้นทางรถยนต์ รถประจำทาง รถบรรทุก 58,711 คัน
โรงงาน แพลนท์ปูน ไซต์ก่อสร้าง ถมดิน 1,900 แห่ง
 
ติดตาม : BKK Clean Air Area ตรวจสอบแหล่งกำเนิดทุกแห่งอย่างน้อย 2 ครั้งต่อเดือน
จุดวัดค่าฝุ่นในพื้นที่ กทม. 70 จุด ผ่าน App AirBKK Traffy Fondue
 
แก้ไข : สั่งแก้ไข-ห้ามใช้รถยนต์ รถประจำทางรถบรรทุก 1,020 คัน
สั่งปรับปรุงโรงงาน แพลน์ท์ปูน ไซต์ก่อสร้าง ถมดิน 41 ครั้ง
 
 
สวน 15 นาที
ยืนยันแล้ว 98 แห่ง
- ที่ดินกทม. 39 แห่ง หน่วยงานรัฐ 34 แห่ง เอกชน 24 แห่ง
- เปิดให้บริการแล้ว 13 แห่ง
 
 
หาบเร่แผงลอย
จุดผ่อนผัน 95 จุด
- เสร็จแล้ว 55 จุด
- กำลังดำเนินการ 31 จุด
- ขอทบทวน 9 จุด
นอกจุดผ่อนผัน 618 จุด
- สำรวจนอกจุดผ่อนผัน 50 เขต
- จำนวนผู้ค้า 13,964 ราย
 
 
ศูนย์อาหาร Hawker Center
- สำรวจพื้นที่ 125 จุด เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์อาหาร Hawker Center เอกชน 109 จุด ราชการ 9 จุด วัด 7 จุด
- พื้นที่นำร่อง 2 จุด เขตมีนบุรี และสวนลุมพินีประตู 5 (อยู่ระหว่างดำเนินการ) 

นายศานนท์ หวังสร้างบุญ - ดูแลด้านพัฒนาสังคมและการศึกษา

"เปลี่ยนวิธีการทำงาน เน้น "คน" เป็นที่ตั้ง"

นายศานนท์ หวังสร้างบุญ
รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ดูแลด้านพัฒนาสังคมและการศึกษา
กล่าวในงานอัพเดทความคืบหน้านโยบาย 9 ด้าน 9 ดี ก้าวสูปี 66 กรุงเทพฯ เมืองน่าอยู่
21 ธันวาคม 2565 
สวัสดิการทั่วถึงสำหรับเด็ก
- เพิ่มค่าอาหาร จาก 20 บาท เป็น 32 บาทและอุปกรณ์ศูนย์เด็กเล็ก จาก 100 บาท เป็น 600 บาท
- อาหารเช้า/กลางวัน ฟรี
- ชุดนักเรียนฟรี ลดการใส่เครื่องแบบ
- ผ้าอนามัยฟรี


 
สวัสดิการทั่วถึงสำหรับคนไร้บ้าน
- จัดจุด drop-in 4 จุด ตัดผม ซัก อบ อาบ ตรวจสอบสิทธิสวัสดิการ ตรวจสุขภาพ ลงทะเบียนจ้างงาน
- จัดระเบียบการแจกอาหาร
- จัดที่อยู่อาศัย อยู่อาศัยระยะยาว อยู่อาศัยชั่วคราว (บ้านพักคนละครึ่ง)
 
 
สวัสดิการทั่วถึงสำหรับคนพิการ
- จ้างงานคนพิการ 323 คน
- พัฒนาระบU LIVE CHAT AGENT
- โรงเรียนเรียนร่วม 158 โรงเรียน
- นำร่องอบรมครูเรียนรวม 2 โรงเรียน
- LINE OA กรุงเทพเพื่อทุกคน : ฐานข้อมูล และสิทธิประโยชน์ สำหรับคนพิการ
- รถรับส่งคนพิการ โดยกรุงเทพธนาคม
 
 
อาสาสมัครเทคโนโลยีประจำชุมชน
266 คน จาก 31 เขต
 
 
Food bank
ส่งต่ออาหารส่วนเกินจากผู้ให้สู่กลุ่มคนเปราะบางใน 10 เขตนำร่อง
คลองสาน บางกอกน้อย บางพลัด บางขุนเทียน บางแค ภาษีเจริญ
 
 
ส่งเสริมอาชีพ
- สร้างแรงงานตอบโจทย์ตลาดแรงงาน
- สร้างผู้ประกอบการ



การเรียนรู้
- คัดกรองเด็กยากจนพิเศษเพื่อขอรับทุนการศึกษาจากกสศ. 6,159 คน
- ปลดล็อกครู เพิ่มเจ้าหน้าที่ธุรการและการเงิน ลดภาระงานเอกสารครู ปรับเกณฑ์การเลื่อนวิทยฐานะให้เป็นมาตรฐานสากล
- เปิดโรงเรียนสู่การเรียนรู้ (Saturday School) 85 โรงเรียน
- พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (Education Sandbox) 54 โรงเรียน
- พัฒนาเทคโนโลยีการศึกษา เช่าระบบคอมผิวเตอร์ใหม่ทุกโรงเรียน
- พื้นที่เรียนรู้นอกห้องเรียน 
34 ห้องสมุด / 140 บ้านหนังสือ 1 970 ลานกีฬา / 12 ศูนย์กีฬา / 2 พิพิธภัณฑ์เด็ก / 24 พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น / 35 ศูนย์เยาวชน / 103 สวนสารารณะ
- กิจกรรมในพื้นที่ มากกว่า 200 ครั้ง ใน 6 เดือน
เฉลี่ย 4 - 5 กิจกรรมต่อสัปดาห์ มีผู้เข้าร่วมมากกว่า 500,000 คน
 
 
 
เศรษฐกิจสร้างสรรค์
- ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชน 
ONLINE 93 ร้าน ยอดขาย 1.85 ล้าน
OFFLINE ตลาดชุมชน / พื้นที่ออกร้านตามกิจกรรม / เทศกาล
- ย่านสร้างสรรค์ 
กลุ่มผ่านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมสร้างสรรค์
กลุ่มผ่านพาณิชยกรรมสร้างสรรค์
กลุ่มย่านชุมชนและวิถีชีวิตสร้างสรรค์
- จัดตั้งคณะทำงาน 27 คณะ อาทิ กรุงเทพฯ กลางแปลง BKK Ranger ดิปาวาลี ดนตรีในสวน
 
ข่าว/บทความล่าสุด
เนื้อหาอ่านล่าสุด