ข่าวสุขภาพ
ค้นหา รพ.-คลินิก-ร้านยาทั่วไทย ร้านยาคุณภาพของฉัน บริการสุขภาพ คลินิกเอกชน งาน รพ.
บริการวัคซีนโควิด บริการตรวจโควิด
ตำแหน่งงาน
ข่าวสุขภาพทั่วไป ข่าวธุรกิจสุขภาพไทย ข่าวธุรกิจสุขภาพรอบโลก กิจกรรม-บริการ รพ.ต่างๆ สิทธิสุขภาพชาวไทย สาระความรู้สุขภาพ Health Economy ท่องเที่ยวสุขภาพ กิจกรรม ESG CSR กิจกรรม Event บริจาค
น่าสนใจไทยแลนด์
English
About us เผยแพร่เนื้อหา สถิติเว็บไซต์ สำรวจความเห็นสุขภาพ โฆษณา
healthserv.net@gmail.com

โรงพยาบาลสอยดาว

Soi Dao Hospital

Logo

ที่อยู่/ติดต่อ
399 หมู่ 1 ต.ปะตง อ.สอยดาว จันทบุรี 22180

✅ รับบัตรทอง

*ข้อมูลรวบรวมโดย Healthserv.net เพื่ออำนวยความสะดวกเบื้องต้นให้กับผู้ชมที่ต้องการข้อมูลสถานพยาบาล ไม่ใช่เว็บทางการของรพ./สถานพยาบาลแต่อย่างใด แนะนำให้ไปยังเว็บไซต์/เฟซบุ๊ค หรือช่องทางติดต่อของรพ./สถานพยาบาลนั้นๆ โดยตรง

HealthServ ชวนร่วมตอบแบบสอบถาม สำรวจความต้องการบริการสุขภาพของคนไทย

HealthServ ชวนร่วมตอบแบบสอบถาม สำรวจความต้องการบริการสุขภาพของคนไทย

ผลสำรวจ

ข่าวสาร-สาระ-ข้อมูลบริการ โรงพยาบาลสอยดาว

ข่าวสาร ข้อมูลบริการ บทความ สาระประโยชน์

  • ยังไม่มีข่าวสาร ข้อมูลจากที่นี่
[ทั้งหมด]
 
 
ประวัติโรงพยาบาล
โรงพยาบาลสอยดาวตั้งอยู่เลขที่ 399 หมู่ 1 ต.ปะตง อ.สอยดาว จ.จันทบุรี อยู่ห่างจากถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 (จันทบุรี-สระแก้ว) ประมาณ 300 เมตร อยู่ห่างจากตัวจังหวัดจันทบุรี ประมาณ 72 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 22 ไร่ เป็นพื้นที่ที่เอกชนบริจาค ไม่มีเอกสิทธิ์ในการเป็นเจ้าของที่ดิน แต่กระทรวงสาธารณสุขได้ทำข้อตกลง กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ฯ ขอใช้พื้นที่ในการก่อสร้างโรงพยาบาล เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาในข้อกฎหมาย
 
โรงพยาบาลสอยดาวเปิดดำเนินการครั้งแรกเป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด 10 เตียง พร้อมให้บริการอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ.2534 (เริ่มให้บริการก่อนแล้วตั้งแต่วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ.2533) โดย ฯพณฯ ท่านรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุขศาสตราจารย์นายแพทย์อรรธสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นประธานในพิธีเปิด
 
โรงพยาบาลสอยดาว ได้ระบบริจาคอาคารผู้ป่วยขนาด 30 เตียง จำนวน 1 หลัง จากอาจารย์สวัสดิ์ จันทร์แสงศรี ในปีงบประมาณ พ.ศ.2537 โรงพยาบาลสอยดาวได้ยกฐานะเป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง งบประมาณ ค่าก่อสร้างทั้งสิ้น 16,727,000 บาท
 
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2538 โรงพยาบาลสอยดาวได้ยกฐานะเป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด 60 เตียง เมื่อมีอาคารผู้ป่วย ขนาด 30 เตียง จำนวน 2 หลัง แต่กรอบอัตรากำลังข้าราชการในขณะนั้นเป็นโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง ทำให้การทำงานในช่วงนั้นหนักมากแต่ก็สามารถเปิดให้บริการประชาชนได้อย่างราบรื่นตลอดจนมาถึงปัจจุบัน