ข่าวสุขภาพ
ค้นหา รพ.-คลินิก-ร้านยาทั่วไทย ร้านยาคุณภาพของฉัน บริการสุขภาพ คลินิกเอกชน งาน รพ.
บริการวัคซีนโควิด บริการตรวจโควิด
ตำแหน่งงาน
ข่าวสุขภาพทั่วไป ข่าวธุรกิจสุขภาพไทย ข่าวธุรกิจสุขภาพรอบโลก กิจกรรม-บริการ รพ.ต่างๆ สิทธิสุขภาพชาวไทย สาระความรู้สุขภาพ Health Economy ท่องเที่ยวสุขภาพ กิจกรรม ESG CSR กิจกรรม Event บริจาค
น่าสนใจไทยแลนด์
English
About us เผยแพร่เนื้อหา สถิติเว็บไซต์ สำรวจความเห็นสุขภาพ โฆษณา
healthserv.net@gmail.com

โครงการรากฟันเทียม สปสช.บัตรทอง ปี 2566 และหน่วยบริการภาครัฐที่ร่วม

โครงการรากฟันเทียม สปสช.บัตรทอง ปี 2566 และหน่วยบริการภาครัฐที่ร่วม HealthServ.net
โครงการรากฟันเทียม สปสช.บัตรทอง ปี 2566 และหน่วยบริการภาครัฐที่ร่วม ThumbMobile HealthServ.net

ประชาชนสิทธิบัตรทองรับบริการ ใส่รากฟันเทียม ฟรี!! รายชื่อหน่วยบริการภาครัฐ 224 แห่ง ที่ร่วม โครงการฟันเทียม รากฟันเทียม เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 72 พรรษา 28 กรกฎาคม 2567 เงื่อนไขการรับบริการ 1. เป็นผู้ใส่ฟันเทียมทั้งปาก บนหรือล่าง และฟันเทียมหลวมใช้เคี้ยวอาหารไม่ได้ 2. ใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สิทธิบัตรทอง)

โครงการฟันเทียม รากฟันเทียม

เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 72 พรรษา28 กรกฎาคม 2567 "เพื่อให้คนไทยมีฟันเทียมและรากพันเทียมที่ใช้งานได้ดีกินข้าวได้อร่อย สุขภาพกายและใจที่แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี"
 
  • ใส่ฟันเทียม สำหรับคนที่ไม่มีฟัน ทุกสิทธิการรักษา
  • ฝังรากฟันเทียม สำหรับผู้ที่ใส่ฟันเทียมทั้งปากแล้วหลวม และทันตแพทย์ประเมินว่าจำเป็นต้องฝังรากเทียม

*** เฉพาะสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สิทธิบัตรทอง 30 บาท) เท่านั้น***
 
 

รายชื่อหน่วยบริการ (โรงพยาบาล) ที่ให้บริการโครงการรากฟันเทียมแยกตามภาค


 

ขั้นตอนการเข้ารับบริการ


1. คนไทยทุกคนที่สูญเสียฟันทั้งแบบบางขี่หรือทั้งปาก ติดต่อใส่ฟันเทียมที่
สถานพยาบาลตามสิทธิการรักษาของท่าน

2. กรณีใส่ฟันเทียมทั้งปากและทันตแพทย์พบว่ามีการละลายตัวของกระดูกขากรรไกรมากจนไม่สามารถใส่ฟันเทียมตามวิธีปกติได้ หรือเมื่อใส่ฟันเทียมไปแล้ว ภายหลังต่อมา หลวม หลุดง่าย ไม่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
ทันตแพทย์จะทำการปรับแก้ จนกระทั่งไม่สามารถปรับแก้ได้แล้ว จึงจะพิจารณาให้ใส่รากฟันเทียมหรือส่งต่อท่านไปรับการฝังรากนเทียมที่โรงพยาบาลของรัฐที่เข้าร่วมโครงการ(ใช้สิทธิฝังรากฟันเทียมได้เฉพาะผู้ที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหรือสิทธิบัตรทองบัตร 30 บาท เท่านั้น)
 
หมายเหตุ : การฝังรากฟันเทียมท่านไม่สามารถติดต่อไปที่โรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการได้โดยตรงเนื่องจากต้องให้ทันตแพทย์ที่สถานพยาบาลตามสิทธิการรักษาของท่านประเมินว่าท่านจำเป็นต้องรับการฝังรากฟันเทียมหรือไม่ [nhso]


โครงการรากฟันเทียม สปสช.บัตรทอง ปี 2566 และหน่วยบริการภาครัฐที่ร่วม HealthServ



รายชื่อหน่วยบริการโครงการรากฟันเทียมจำแนกรายจังหวัด

รายชื่อหน่วยบริการภาครัฐที่ร่วมโครงการรากฟันเทียม ปีงบประมาณ 2566
จำแนกรายจังหวัด ข้อมูล ณ วันที่ 27 มีนาคม 2566 รวม 224 แห่ง


ภาคเหนือ

 
เชียงใหม่ 
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
โรงพยาบาลนครพิงค์
โรงพยาบาลจอมทอง
โรงพยาบาลแม่แตง
โรงพยาบาลฝาง
โรงพยาบาลแม่อาย
โรงพยาบาลสันป่าตอง
โรงพยาบาลสันทราย
 
เชียงราย 
โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
โรงพยาบาลแม่จัน
โรงพยาบาลแม่สรวย
 
แพร่ 
โรงพยาบาลแพร่
โรงพยาบาลสอง
 
ลําพูน  
โรงพยาบาลลําพูน
โรงพยาบาลป่าซาง
 
น่าน  
โรงพยาบาลน่าน
 
ลําปาง  
โรงพยาบาลลําปาง
โรงพยาบาลแม่เมาะ
โรงพยาบาลเกาะคา
โรงพยาบาลเถิน
 
พะเยา  
โรงพยาบาลพะเยา
โรงพยาบาลเชียงคํา
 
แม่ฮ่องสอน  
โรงพยาบาลศรีสังวาลย์
โรงพยาบาลปาย
 
ตาก 
โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
โรงพยาบาลแม่สอด
โรงพยาบาลท่าสองยาง
โรงพยาบาลพบพระ
 
อุตรดิตถ์  
โรงพยาบาลอุตรดิตถ์






ภาคกลางตอนบน

พิษณุโลก  
โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
โรงพยาบาลวังทอง
คณะทันตแพทยศาสตร์ ม.นเรศวร
 
 
เพชรบูรณ์ 
โรงพยาบาลเพชรบูรณ์
โรงพยาบาลหนองไผ่
 
สุโขทัย 
โรงพยาบาลสุโขทัย
โรงพยาบาลบ้านด่านลานหอย
โรงพยาบาลสวรรคโลก

 
กําแพงเพชร 
โรงพยาบาลกําแพงเพชร
โรงพยาบาลทุ่งโพธิ์ทะเล
โรงพยาบาลไทรงาม
โรงพยาบาลคลองลาน
โรงพยาบาลขาณุวรลักษบุรี
โรงพยาบาลคลองขลุง
โรงพยาบาลพรานกระต่าย
โรงพยาบาลลานกระบือ
โรงพยาบาลทรายทองวัฒนา
โรงพยาบาลปางศิลาทอง
โรงพยาบาลบึงสามัคคี
โรงพยาบาลโกสัมพีนคร







ภาคกลาง

นครสวรรค์ 
โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
โรงพยาบาลแม่วงก์
โรงพยาบาลค่ายจิรประวัติ
 
อุทัยธานี  
โรงพยาบาลอุทัยธานี
โรงพยาบาลทัพทัน
โรงพยาบาลหนองฉาง
 
ชัยนาท 
โรงพยาบาลชัยนาทนเรนทร
โรงพยาบาลสรรคบุรี
 
พิจิตร  
โรงพยาบาลพิจิตร
โรงพยาบาลบางมูลนาก
โรงพยาบาลโพทะเล
 
 
นครนายก  
โรงพยาบาลนครนายก
โรงพยาบาลบ้านนา
 
สระบุรี  
โรงพยาบาลพระพุทธบาท
โรงพยาบาลสระบุรี
 
ลพบุรี 
โรงพยาบาลพระนารายณ์มหาราช
โรงพยาบาลพัฒนานิคม
 
 
อ่างทอง 
โรงพยาบาลอ่างทอง
โรงพยาบาลป่าโมก
โรงพยาบาลวิเศษชัยชาญ
 
พระนครศรีอยุธยา  
โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
โรงพยาบาลบางปะอิน
โรงพยาบาลบางปะหัน
โรงพยาบาลวังน้อย
 
สิงห์บุรี  
โรงพยาบาลสิงห์บุรี
โรงพยาบาลอินทร์บุรี
โรงพยาบาลบางระจัน
 
สุพรรณบุรี  
โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
โรงพยาบาลบางปลาม้า
โรงพยาบาลอู่ทอง
 
ประจวบคีรีขันธ์ 
โรงพยาบาลบางสะพาน
โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์
โรงพยาบาลกุยบุรี
โรงพยาบาลหัวหิน
โรงพยาบาลค่ายธนะรัชต์
 
เพชรบุรี 
โรงพยาบาลพระจอมเกล้า
โรงพยาบาลบ้านลาด
 
กาญจนบุรี 
โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา
โรงพยาบาลมะการักษ์
 
นครปฐม 
โรงพยาบาลนครปฐม
โรงพยาบาลหลวงพ่อเปิ่น
 
ราชบุรี 
โรงพยาบาลราชบุรี
โรงพยาบาลบ้านโป่ง
 
สมุทรสาคร
โรงพยาบาลสมุทรสาคร
 
สมุทรสงคราม  
โรงพยาบาลนภาลัย
 

ภาคตะวันออก


ชลบุรี  
โรงพยาบาลชลบุรี
โรงพยาบาลบางละมุง
โรงพยาบาลแหลมฉบัง
 
ระยอง 
โรงพยาบาลระยอง
 
ฉะเชิงเทรา
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา
โรงพยาบาลพุทธโสธร
โรงพยาบาลบางปะกง
โรงพยาบาลสนามชัยเขต
 
ปราจีนบุรี  
โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
โรงพยาบาลกบินทร์บุรี
 
ตราด  
โรงพยาบาลตราด
 
 
สระแก้ว 
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสระแก้ว
 
จันทบุรี 
โรงพยาบาลพระปกเกล้า
โรงพยาบาลแหลมสิงห์


 

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

กาฬสินธุ์  
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์
โรงพยาบาลกาฬสินธุ์
 
ขอนแก่น 
โรงพยาบาลบ้านฝาง
โรงพยาบาลชุมแพ
โรงพยาบาลสีชมพู
โรงพยาบาลน้ําพอง
โรงพยาบาลเปือยน้อย
โรงพยาบาลภูเวียง
โรงพยาบาลมัญจาคีรี
โรงพยาบาลชนบท
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกระนวน
โรงพยาบาลสิรินธร
 
 
ร้อยเอ็ด 
โรงพยาบาลร้อยเอ็ด
โรงพยาบาลโพนทอง
 
มหาสารคาม 
โรงพยาบาลมหาสารคาม
โรงพยาบาลบรบือ
 
นครพนม  
โรงพยาบาลนครพนม
 
หนองบัวลําภู
โรงพยาบาลหนองบัวลําภู
โรงพยาบาลศรีบุญเรือง
โรงพยาบาลสุวรรณคูหา
 
บึงกาฬ  
โรงพยาบาลบึงกาฬ
โรงพยาบาลบึงโขงหลง
โรงพยาบาลศรีวิไล
 
หนองคาย  
โรงพยาบาลหนองคาย
 
สกลนคร 
โรงพยาบาลสกลนคร
โรงพยาบาลพังโคน
โรงพยาบาลวานรนิวาส
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน
 
อุดรธานี 
โรงพยาบาลอุดรธานี
โรงพยาบาลกุมภวาปี
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชบ้านดุง
 
เลย
โรงพยาบาลเลย
 
นครราชสีมา 
โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
โรงพยาบาลโชคชัย
โรงพยาบาลพิมาย
โรงพยาบาลห้วยแถลง
โรงพยาบาลสูงเนิน
โรงพยาบาลสีคิ้ว
โรงพยาบาลปากช่องนานา
โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา
 
สุรินทร์  
โรงพยาบาลสุรินทร์
โรงพยาบาลท่าตูม
โรงพยาบาลปราสาท
โรงพยาบาลศีขรภูมิ
 
 
บุรีรัมย์
โรงพยาบาลบุรีรัมย์
โรงพยาบาลกระสัง
โรงพยาบาลนางรอง
โรงพยาบาลลําปลายมาศ
 
ชัยภูมิ 
โรงพยาบาลชัยภูมิ
โรงพยาบาลจัตุรัส
โรงพยาบาลภูเขียวเฉลิมพระเกียรติ
 
ยโสธร 
โรงพยาบาลยโสธร
 
อํานาจเจริญ  
โรงพยาบาลอํานาจเจริญ
 
อุบลราชธานี 
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
โรงพยาบาลเขื่องใน
โรงพยาบาลวารินชําราบ
โรงพยาบาลสําโรง
โรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี
โรงพยาบาล 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ
 
ศรีสะเกษ  
โรงพยาบาลศรีสะเกษ
โรงพยาบาลกันทรลักษ์
โรงพยาบาลอุทุมพรพิสัย
โรงพยาบาลห้วยทับทัน
โรงพยาบาลโนนคูณ
 
มุกดาหาร  
โรงพยาบาลมุกดาหาร
 

 

ภาคใต้


สุราษฏร์ธานี
โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
โรงพยาบาลเกาะสมุย
โรงพยาบาลเกาะพะงัน
 
ภูเก็ต
โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต
โรงพยาบาลป่าตอง
 
พังงา 
โรงพยาบาลพังงา
โรงพยาบาลตะกั่วป่า
 
ชุมพร 
โรงพยาบาลชุมพรเขตอุดมศักดิ์
โรงพยาบาลมาบอํามฤต
โรงพยาบาลหลังสวน
โรงพยาบาลสวี
โรงพยาบาลทุ่งตะโก
 
ระนอง 
โรงพยาบาลระนอง
 
นครศรีธรรมราช 
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
โรงพยาบาลท่าศาลา
โรงพยาบาลสิชล
 
 
กระบี่ 
โรงพยาบาลกระบี่
 
ปัตตานี
โรงพยาบาลปัตตานี
 
ตรัง  
โรงพยาบาลตรัง
โรงพยาบาลห้วยยอด
 
พัทลุง 
โรงพยาบาลพัทลุง
โรงพยาบาลควนขนุน
 
ยะลา 
โรงพยาบาลยะลา
โรงพยาบาลกาบัง
 
สงขลา 
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
โรงพยาบาลหาดใหญ่
โรงพยาบาลสงขลา
โรงพยาบาลสทิงพระ
โรงพยาบาลจะนะ
โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ณ อําเภอนาทวี
โรงพยาบาลรัตภูมิ
โรงพยาบาลบางกล่ำ
โรงพยาบาลสิงหนคร
 
นราธิวาส 
โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์
โรงพยาบาลสุไหงโกลก
โรงพยาบาลตากใบ
โรงพยาบาลรือเสาะ
 
สตูล 
โรงพยาบาลสตูล
 

 

กรุงเทพและปริมณฑล

กรุงเทพมหานคร 
สถาบันทันตกรรม
ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์

 
นนทบุรี 
โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า
โรงพยาบาลบางกรวย
โรงพยาบาลบางบัวทอง
โรงพยาบาลปากเกร็ด
โรงพยาบาลบางบัวทอง 2
โรงพยาบาลศูนย์บริการการแพทย์นนทบุรี

ปทุมธานี 
โรงพยาบาลปทุมธานี
โรงพยาบาลลาดหลุมแก้ว
โรงพยาบาลสามโคก
 
 
สมุทรปราการ 
โรงพยาบาลสมุทรปราการ
โรงพยาบาลพระสมุทรเจดีย์สวาทยานนท์

 
 
รวม 224 แห่ง
 
หมายเหตุ การให้บริการฟันเทียมสามารถให้บริการได้ทุกหน่วยบริการ
  • รายชื่อจาก nhso
โครงการรากฟันเทียม สปสช.บัตรทอง ปี 2566 และหน่วยบริการภาครัฐที่ร่วม HealthServ

รากฟันเทียม คืออะไร??

 รากฟันเทียม คืออะไร??
 
รากฟันเทียม คือ รากฟันที่สร้างขึ้นใช้ทดแทนรากฟันธรรมชาติ
เพื่อยึดฟันเทียมให้แน่นขึ้น
 
ใส่รากฟันเทียมแล้วดียังไง
1. ฟันเทียมแน่นกระชับ ไม่หลวมหลุด เคี้ยวอาหารดีขึ้น
2. ไม่มีปัญหาฟันเทียมหลวมหลุดขณะพูด
3. รู้สึกมั่นใจในการเข้าสังคม
4. มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น
 
โครงการฟันเทียม รากฟันเทียม
เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 72 พรรษา28 กรกฎาคม 2567 "เพื่อให้คนไทยมีฟันเทียมและรากพันเทียมที่ใช้งานได้ดีกินข้าวได้อร่อย สุขภาพกายและใจที่แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี"
 
- ใส่ฟันเทียม สำหรับคนที่ไม่มีฟัน ทุกสิทธิการรักษา
 
- ฝังรากฟันเทียม สำหรับผู้ที่ใส่ฟันเทียมทั้งปากแล้วหลวม และทันตแพทย์ประเมินว่าจำเป็นต้องฝังรากเทียม
*** เฉพาะสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สิทธิบัตรทอง 30 บาท) เท่านั้น***
 
ขั้นตอนการเข้ารับบริการ
1 คนไทยทุกคนที่สูญเสียฟันทั้งแบบบางขี่หรือทั้งปาก ติดต่อใส่ฟันเทียมที่
สถานพยาบาลตามสิทธิการรักษาของท่าน
 
2. กรณีใส่ฟันเทียมทั้งปากและทันตแพทย์พบว่ามีการละลายตัวของกระดูกขากรรไกรมากจนไม่สามารถใส่ฟันเทียมตามวิธีปกติได้ หรือเมื่อใส่ฟันเทียมไปแล้ว ภายหลังต่อมา หลวม หลุดง่าย ไม่สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทันตแพทย์จะทำการปรับแก้ จนกระทั่งไม่สามารถปรับแก้ได้แล้ว จึงจะพิจารณาให้ใส่รากฟันเทียมหรือส่งต่อท่านไปรับการฝังรากนเทียมที่โรงพยาบาลของรัฐที่เข้าร่วมโครงการ(ใช้สิทธิฝังรากฟันเทียมได้เฉพาะผู้ที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหรือสิทธิบัตรทองบัตร 30 บาท เท่านั้น)
 
หมายเหตุ : การฝังรากฟันเทียมท่านไม่สามารถติดต่อไปที่โรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการได้โดยตรงเนื่องจากต้องให้ทันตแพทย์ที่สถานพยาบาลตามสิทธิการรักษาของท่านประเมินว่าท่านจำเป็นต้องรับการฝังรากฟันเทียมหรือไม่
ข่าว/บทความล่าสุด
เนื้อหาอ่านล่าสุด