ข่าวสุขภาพ
ข่าวสุขภาพทั่วไป ข่าวธุรกิจสุขภาพไทย ข่าว/กิจกรรม/สาระ รพ.ต่างๆ ข้อมูลบริการ รพ.ต่างๆ สาระความรู้สุขภาพ กิจกรรม ESG CSR Health Economy บริจาครพ.ต่างๆ
น่าสนใจไทยแลนด์
About us เผยแพร่เนื้อหา สถิติเว็บไซต์ สำรวจความเห็นสุขภาพ โฆษณา
healthserv.net@gmail.com

ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis)

ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis) Thumb HealthServ.net
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis) ThumbMobile HealthServ.net

โรคกล้ามเนือหัวใจขาดเลือด (และเยือหุ้มหัวใจอักเสบ - Myocarditis) เป็นนิยามที่ใช ้อธิบายถึงการอักเสบภายในหรือรอบๆ หัวใจ อาการ โดยทั่วไปรวมถึงอาการเจ็บหน้าอก หายใจลําบาก และรู้สึก เหมือนว่าหัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะ ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย มักทําให้เกิดการอักเสบเพือตอบสนองต่อการติดเชื้อ เช่น ไวรัส

การสังเกต... ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis) และเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (Pericarditis) หลังจากได้รับ mRNA vaccine อาการที่พบได้บ่อยที่สุดและความผิดปกติของสิ่ งตรวจพบ ทางคลินิกของภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis) และเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (Pericarditis) มักเกิดเร็วหลังรับวัคซีน โดยเฉลี่ยจะแสดงอาการในวันที่ 3-7 หลังได้รับวัคซีน mRNA

อาการหรืออาการแสดงในผู้ป่วยที่อายุไม่เกิน 29 ปี หลังจากได้รับ mRNA vaccine (N=484) เจ็บแน่นหน้าอก เอนไซม์ที่แสดงการทํางานของหัวใจผิดปกติ คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ หายใจหอบเหนื่อย การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงผิดปกติ 86.0 64.0 61.0 24.2 16.7 แหล่งที่มา : รายงานของ US FDA ข้อมูลถึงวันที่ 11 มิถุนายน 2564

 
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis) HealthServ
โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเป็นโรคที่ไม่ได้พบบ่อยนักและอันตรายถึงแก่ชีวิตน้อยมาก
 
มีผู้ปวยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายน้อยกว่า 200,000 รายในสหรัฐอเมริกาในแต่ละปี โดยมีผู้เสียชีวิตน้อยกว่า 2% ในสหรัฐฯ ไม่มีผู้เสียชีวิตจากโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเนื่องจากการฉีดวัคซีนโควิด-19
 
  • ซึ่งไม่เป็นที่รู้จักว่าเป็นโรคติดต่อ
  • กรณีส่วนใหญ่ไม่รุนแรงมาก
  • การรักษามักมีน้อย เน้นที่การจัดการอาการเป็นหลัก

มีความเกียวข้องกับการฉีดวัคซีนโควิด-19 หรือไม่
มีโอกาสเกิดขึ้นได้ ความเสี่ยงหลังเข้ารับการฉีดวัคซีนพบได้น้อยมาก แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้ อาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจะเกิดขึ้นกับผู้ที่ไม่ได้รับการฉีดวัคซีน
 
เนื่องจากไม่สามารถตัดออกได้ คณะกรรมการความปลอดภัยของศูนย์ป้องกันและควบคุมโรค (CDC) ได้ระบุว่ามี "ความเชื่อมโยงที่น่าจะเป็นไปได้" ระหว่างโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด และเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ และวัคซีน mRNA โรคโควิด-19 (ผลิตโดย Moderna และ Pfizer-BioNTech)

ฉันควรเฝ้าระวังอาการและอาการแสดงอะไรบ้างหลังการฉีด
 
เคยพบบางกรณีที่ส่วนใหญ่เกิดขึ้นกับวผู้ชายที่เป็นวัยรุ่นและผู้ใหญ่ตอนต้นอายุต่ำกว่า 30 ปี การแสดงอาการปรากฎขึ้นหลังจากการได้รับการฉีดโดสที่สอง
 
CDC ขอแนะนำว่าผู้ที่ได้รับการฉีดวัคซีนล่าสุดควรไปพบแพทย์หากพวกเขามีอาการเหล่านี้หลังจากได้รับการฉีดวัคซีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสัปดาห์แรกหลังการฉีดวัคซีน
 
  • อาการเจ็บหน้าอก
  • อาการหายใจลำบาก
  • ความรู้สึกว่าหัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นสั่นระรัว หรือหัวใจเต้นแรง
 
โอกาสที่จะเกิดขึ้นมีความเป็นไปได้น้อย แต่อย่างไรก้ตามควรไปพบแพทย์ทันทีหากพบอาการเหล่านั้น
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis) HealthServ
 
อ้างอิง
  • อาการกล้ามเนือหัวใจขาดเลือดหลังการฉีดวัคซีนโควิด-19: สิ่งที่ผู้ปกครองและคนหนุ่มสาวควรทราบ https://doh.wa.gov/sites/default/files/legacy/Documents/1600/coronavirus//348-835-MyocarditisAfterVaccination-Thai.pdf
  • การสังเกต... ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis) และเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (Pericarditis) หลังจากได้รับ mRNA vaccine https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1188520211015022558.pdf

ข่าว/บทความล่าสุด
เนื้อหาอ่านล่าสุด