ทีมแพทย์และทีมสหสาขาวิชาชีพเฉพาะทางด้านโรคหัวใจของสถาบันโรคหัวใจ (HEART INSTITUTE)
ทีมแพทย์และทีมสหสาขาวิชาชีพของเรามีความชำนาญในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจ โดยเฉพาะในรายที่ต้องการการดูแลรักษาโรคที่ยากและซับซ้อน ทีมของเราประกอบด้วย
อายุรแพทย์หัวใจ (Medicine, Cardiology)
ศัลยแพทย์ทรวงอก (Cardio-thoracic surgeon)
แพทย์กายภาพบำบัด (Cardiac rehabilitation) ผู้ชำนาญด้านการฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มนักกีฬา
การดูแลป่วยหนักระบบหัวใจและหลอดเลือด (Clinical care service) สามารถดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจที่มีความซับซ้อนได้อย่างครอบคลุม
เภสัชกร (Clinical Pharmacist) ผู้ชำนาญด้านยารักษาโรคหัวใจโดยเฉพาะ
พยาบาล (Special nurse) ผู้ได้รับการอบรมและมีประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ
สหสาขาวิชาชีพอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น นักโภชนาการ นักกายภาพบำบัด
ภาวะเจ็บป่วยที่สถาบันโรคหัวใจดูแล
โรคหลอดเลือดหัวใจ
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
โรคลิ้นหัวใจเอออร์ติกตีบ
โรคหัวใจ
โรคหัวใจกับการเดินทาง
โรคหัวใจพิการหรือผิดปกติแต่กำเนิด
ไขมันในเลือดสูง คอเลสเตอรอลและโรคหัวใจ
ความดันโลหิตต่ำ
ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำ
ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำส่วนลึก
ภาวะหลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องโป่งพอง
ภาวะหัวใจโต
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว
มะเร็งหัวใจ
ลิ้นหัวใจรั่ว
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
หัวใจวาย หรือกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
การรักษา
CARDIAC ELECTROPHYSIOLOGY LAB (EP LAB)
การเปลี่ยนลิ้นหัวใจเอออร์ติกผ่านสายสวนโดยไม่ต้องผ่าตัด (TAVI)
การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ
การขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)
การตรวจทางสรีรวิทยาไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจสมรรถภาพหัวใจด้วยการออกกำลังกาย (EXERCISE STRESS TEST)
การตรวจสวนหัวใจ (การฉีดสีหัวใจ)
การตรวจหลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
การตรวจหัวใจด้วยเตียงปรับระดับ (TILT TABLE TEST)
การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูงร่วมกับการออกกำลังกาย
การปิดรยางค์หัวใจห้องบนซ้าย (LAAC)
การผ่าตัด FONTAN’S OPERATION
การผ่าตัดต่อหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจหรือการผ่าตัดบายพาส
การรักษาด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือด
สถิติความสำเร็จในการรักษาของสถาบันโรคหัวใจ (HEART INSTITUTE)
1. ทำบอลลูน > 350 ราย/ปี
2. ฉีดสีเพื่อดูเส้นเลือดหัวใจ > 600 ราย/ปี
3. การเกิดหลอดเลือดตีบ และแตกขณะทำบอลลูน 0% (สถิติประเทศไทย 0.22%)
4. ใส่ห้องไฟฟ้าหัวใจ > 30 ราย/ปี ตรวจทางสรีรวิทยาไฟฟ้าหัวใจ > 80 ราย/ปี
5. อัตราการเสียชีวิตจากการจี้ไฟฟ้าหัวใจ (AF & VT) = 0
6. อัตราการเสียชีวิตจากเปลี่ยนลิ้นหัวใจเออร์ติกด้วยเทคโนโลยี TAVI ตั้งแต่ปี 2559 = 0
7. ผ่าตัดหัวใจแบบเปิด > 70 ราย/ปี