ประชาชนได้อะไรจากงบประมาณ ปี 2566
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคง
• ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (จชต.)
• ป้องกัน ปราบราม และบ าบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
• จัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์
• พัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและระบบบริหารจัดการภัยพิบัติ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
• พัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์
• สร้างรายได้จากการท่องเที่ยว
• การเกษตรสร้างมูลค่า
• เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
• การส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เข้มแข็ง แข่งขันได้
• พัฒนาอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
• เสริมสร้างให้คนมีสุขภาวะที่ดี
• พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
• สร้างหลักประกันทางสังคม
• สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา
• สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
• พัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
• บริหารจัดการทรัพยากรน้ า
• จัดการมลพิษและสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
• ต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
• รัฐบาลดิจิทัล
• พัฒนาบริการประชาชนและการพัฒนาประสิทธิภาพภาครัฐ
• พัฒนากฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
นโยบายการจัดท างบประมาณ ปี 2566
“เพื่อพัฒนาและฟื้นฟูประเทศจากผลกระทบของการระบาดโควิด-19 มุ่งเน้น
ให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีหลักประกันและความคุ้มครองทางเศรษฐกิจ
และสังคม กลุ่มเปราะบางและผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลและช่วยเหลือ
จากสวัสดิการภาครัฐอย่างทั่วถึง เป็นธรรม เศรษฐกิจเติบโตอย่างต่อเนื่อง
กระจายประโยชน์สู่ประชาชนทุกกลุ่ม กลุ่มฐานรากมีความเข้มแข็ง หลุดพ้น
จากปัญหาความยากจนและพึ่งพาตนเองได้” โดยก าหนดแนวทางการจัดสรร
งบประมาณ ดังนี้
1. น้อมน าแนวทางพระราชดำริและ “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
2. สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนในระดับต่างๆ
3. ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบพุ่งเป้า
4. ส่งเสริมการกระจายอ านาจให้ อปท.
5. จัดทำงบประมาณครอบคลุมทุกแหล่งเงิน
6. ดำเนินการตามกฎหมายระเบียบ และมติ ครม. ที่เกี่ยวข้อง
ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 2566
มูลค่า GDP 17,905,900 ล้านบาท (ปี 2565 17,102,100 ล้านบาท)
อัตราการขยายตัวของ GDP 3.2 – 4.2% (ลดลงจาก 3.5 – 4.5% ในปี 2565)
อัตราเงินเฟ้อ GDP Deflator 0.5 – 1.5% (ลดลงจาก 1.2 – 2.2% ในปี 2565)
ประมาณการรายรับ ปี 2566
รายได้สุทธิ 2,490,000 ล้านบาท
• รายได้จากภาษีอากร (สุทธิ) 2,254,312.5 ล้านบาท
• รายได้ที่มิใช่ภาษีอากร 235,687.5 ล้านบาท
เงินกู้เพื่อชดเชยขาดดุล 695,000 ล้านบาท
หนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 มีนาคม 2565
งบประมาณรายจ่ายปี 2566 3,185,000 ล้านบาท
รายจ่ายเพื่อการชำระหนี้ภาครัฐ ปี 2566 306,618 ล้านบาท
• ชำระคืนต้นเงินกู้ 100,000 ล้านบาท (3.14% ของงบประมาณ)
• ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม 206,618 ล้านบาท (6.5% ของงบประมาณ)
สถานะเงินคงคลัง ณ 30 เมษายน 2565 398,830.7 ล้านบาท
กระทรวงสาธารณสุข
156,408.7 ล้านบาท (ปี 2565 154,029.3 ล้านบาท)