ข่าวสุขภาพ
ข่าวสุขภาพทั่วไป ข่าวธุรกิจสุขภาพไทย ข่าว/กิจกรรม/สาระ รพ.ต่างๆ ข้อมูลบริการ รพ.ต่างๆ สาระความรู้สุขภาพ กิจกรรม ESG CSR Health Economy บริจาครพ.ต่างๆ
น่าสนใจไทยแลนด์
About us เผยแพร่เนื้อหา สถิติเว็บไซต์ สำรวจความเห็นสุขภาพ โฆษณา
healthserv.net@gmail.com

เวลเนสเทค (Wellness Tech) โอกาสใหญ่ของสตาร์ทอัพไทย ในอุตสาหกรรมเฮลท์แคร์

เวลเนสเทค (Wellness Tech) โอกาสใหญ่ของสตาร์ทอัพไทย ในอุตสาหกรรมเฮลท์แคร์  Thumb HealthServ.net
เวลเนสเทค (Wellness Tech) โอกาสใหญ่ของสตาร์ทอัพไทย ในอุตสาหกรรมเฮลท์แคร์  ThumbMobile HealthServ.net

Wellness Tech คือการผสานเทคโนโลยีเข้ามาพัฒนา สร้างสรรค์ นวัตกรรมใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นกับธุรกิจอุตสาหกรรมด้านเวลเนส นั่นเอง ซึ่ง เวลเนสนี้ คืออีกแขนงหนึ่งของอุตสาหกรรมเฮลธ์แคร์ที่กว้างใหญ่ ครอบคลุมในหลายมิติที่เกี่ยวข้องกับชีวิตผู้คนโดยตรง


 
อย่างที่กล่าวไว้ คำว่า เวลเนส นั้นขยายตัวไปอย่างมากในรอบ 10 ปีที่ผ่านไป สยายปีกไปทั้งแนวกว้างและแนวลึกในหลายมิติที่เกี่ยวข้องกับผู้บริโภค ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ครอบคลุมออกไปตั้งแต่ ธุรกิจฟิตเนส การทำอาหาร อาหารเสริม การบำบัดร่างกายจิตใจอารมณ์ในหลายรูปแบบและเทคนิควิธี การออกกำลังกาย การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ฯลฯ 
 
Start up คือ กลุ่มนักบุกเบิกทางเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ที่จะนำเอาดิจิตอลมาปรับประยุกต์พัฒนาเกิดเป็นสิ่งใหม่ เครื่องมือใหม่ แนวคิดใหม่ ต่อยอดจากฐานธุรกิจเดิมหรือรุกเข้าไปค้นหากลุ่มเป้าหมายใหม่  สำหรับ Start up สายเวลเนสเฮลท์แคร์ ก็เป็นอีกกลุ่มที่กล่าวได้ว่า โอกาสข้างหน้ายังรออยู่มาก 
 
 
เวลเนสเทค (Wellness Tech) โอกาสใหญ่ของสตาร์ทอัพไทย ในอุตสาหกรรมเฮลท์แคร์  HealthServ

ไปทำความเข้าใจกันว่า กลุ่มธุรกิจที่ถูกจัดเป็น Wellness Tech นั้นมีอะไรบ้าง   


1. กลุ่มอาหารและเครอื่ งดื่ม (Food & Beverage) แน่นอนว่าการมี Well-being ที่ดีนั้น ต้องเริ่มมาจากการกินและดื่ม เพื่อสุขภาพ สตาร์ทอัพกลุ่มนี้จึงท าธุรกิจที่มาจากความต้องการของผู้บริโภคที่ค านึงเรื่องสุขภาพจากการบริโภคเป็นหลัก คนกลุ่ม นี้ต้องการกินและดื่มในสิ่งที่ไม่ท าร้ายร่างกาย จึงเป็นกระแสที่ท าให้คนหันมาเลือกวัตถุดิบจ าพวกออร์แกนิค หรือ non-GMO กัน มากขึ้น รวมถึงเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ อาทิ ดีท๊อกซ์ คอมบูชะ เป็นต้น สตาร์ทอัพในกลุ่มนี้เช่น Daily Harvest ที่ให้บริการทั้งซื้อ และท าอาหารออร์แกนิกพร้อมจัดส่งถึงบ้าน   


2. กลุ่มวิตามินและอาหารเสริม (Vitamins & Supplements) สตาร์ทอัพกลุ่มนี้ จะน าเสนอวิตามินและอาหารเสริม เพื่อสุขภาพเฉพาะตัวบุคคล ตัวอย่างเช่น บริษัท care/of ที่ขายวิตามินโดยให้ลูกค้าตอบค าถามเบื้องต้น น าผลมาวิเคราะห์ แล้ว น าเสนอวิตามินที่เหมาะสมกับแต่ละคน โดยจะจัดส่งถึงบ้านเป็นรายเดือน ส่วน HUM Nutrition and Moon Juice ก็ท าธุรกิจ คล้ายๆ กันแต่จะเน้นไปที่วิตามินในด้านความงามมากกว่า 


3. กลุ่มโภชนาการอาหารเพื่อการออกกา ลงักาย (Active Nutrition) นอกจากกลุ่มคนทั่วๆ ไปที่หันมากินอาหาร เพื่อสุขภาพแล้ว กลุ่มที่มีศักยภาพและเติบโตมากขึ้นทุกปีคือ กลุ่มผู้ชื่นชอบการออกก าลังกาย ที่ต้องการอาหารเสริมทั้งก่อนและ หลังการออกก าลังกาย สตาร์ทอัพที่เข้ามาท าธุรกิจกับกลุ่มเป้าหมายนี้ เช่น Foodspring ที่พัฒนาอาหารเสริม เครื่องดื่ม ขนม ฯลฯ แบบออร์แกนิก เพื่อตอบโจทย์ที่หลากหลายของผู้ออกก าลังกาย เช่นต้องการสร้างกล้ามเนื้อ ควบคุมและลดน ้าหนัก เป็นต้น 




4. กลุ่มเทคโนโลยีทางโภชนาการ (Nutrition Tech) สตาร์ทอัพในส่วนนี้จะน าเสนอแพลตฟอร์มโภชนาการส่วน บุคคล เช่น บริษัท Viome ที่จะวิเคราะห์โปรไฟล์ทางชีวเคมีของผู้ใช้งาน เพื่อจะได้ให้ค าแนะน าเรื่องอาหารการควบคุมอาหาร ส าหรับลดน ้าหนัก ตามไลฟ์ สไตล์ของแต่ละบุคคล 




5. กลุ่มฟิตเนส (Fitness) จากการท าธุรกิจฟิตเนสแบบเดิม ที่มีสถานที่ตั้งแล้วให้คนมาออกก าลังกาย ในยุคนี้สตาร์ท อัพด้านฟิตเนส เห็นปัญหาว่าคนมักจะไม่ค่อยมีเวลา หรือท างานกันยุ่งมาก ท าให้คนที่ชอบออกก าลังกาย แต่ไม่สามารถไปยิมได้ ก็คิดบริการใหม่ส าหรับการน ายิมไปดิลิเวอรี่ถึงที่ท างานหรือที่บ้านกันเลยทีเดียว หรือแม้แต่การให้บริการจองคิวออกก าลังกาย กับฟิตเนส หรือเทรนเนอร์ชื่อดัง เป็นต้น สตาร์ทอัพที่น่าสนใจที่ท าธุรกิจในกลุ่มนี้ เช่น บริษัท MIRROR ที่ท าธุรกิจตามชื่อ นั่นก็ คือผู้ใช้งานสามารถออกก าลังกายหน้ากระจก (อุปกรณ์เฉพาะของ MIRROR) ได้ทุกที่ ทุกเวลา 


6. กลุ่มเครอื่ งแต่งกายหรอือปุ กรณ์ต่อเชื่อมกบั ชุด (Athleisure & Connected Apparel) จากกระแสการชอบออก ก าลังกายที่กลายมาเป็นกิจกรรมส าคัญของผู้คนในยุคนี้ เครื่องแต่งกายหรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ยิ่งเป็นสิ่งที่ผู้คนมองหา ทั้งเพื่อ น ามาช่วยให้สามารถติดตามความคืบหน้าของการออกก าลังกายของตัวเองได้ หรือการสวมใส่เพื่อให้เหมาะกับกิจกรรมการออก ก าลังกายของตัวเองมากที่สุด แม้กระทั่งแบรนด์ที่เป็นเสื้อผ้า รองเท้าแอคทีฟแวร์ชื่อดัง เช่น Outdoor Voices หรือ allbirds ก็ ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก 


7. กลุ่มด้านการนอนหลบั (Sleep) ชีวิตที่อยู่ดี มีสุขในองค์รวมนั้น พ่วงไปจนถึงการนอนหลับพักผ่อนที่เพียงพอ ธุรกิจด้านการนอนหลับในยุคนี้ได้น าเทคโนโลยีมาใช้เพื่อปลูกฝังนิสัยและพฤติกรรมการนอนที่ดีขึ้นให้กับผู้คน เช่น บริษัท Sleepace ที่ให้บริการโซลูชั่นการนอนหลับที่ชาญฉลาด 


8. กลุ่มสุขภาพจิต (Mental Wellness) นับว่าเป็นกลุ่มธุรกิจที่มีอัตราการเติบโตขึ้นมาก เพราะเรื่องจิตใจ นับวันยิ่งมี ความส าคัญต่อการใช้ชีวิต และการมีความสุขของผู้คนในสมัยนี้สตาร์ทอัพบางรายจึงคิดค้นบริการ เพื่อส่งเสริมให้ผู้ใช้งานมี สุขภาพจิตที่ดีขึ้น ซึ่งแบ่งเป็นการให้บริการทั้งแบบส่วนบุคคล และแบบองค์กร o สตารท์ อพั ที่ให้บริการแบบส่วนบุคคล เช่น แอพฯ ฝึกสมาธิของ Head space หรืออุปกรณ์ติดตามอารมณ์ อย่าง Woebot o สตารท์ อพั ที่ให้บริการในองค์กร พนักงานคือทรัพย์สินที่มีค่าที่สุดขององค์กร สตาร์ทอัพย่อมเห็นความ ต้องการ ที่องค์กรให้ความส าคัญในด้านการพัฒนาสุขภาพจิตใจของพนักงาน (ควบคู่ไปกับการพัฒนาสุขภาพ ร่างกาย) จึงคิดค้นโปรแกรมและบริการต่างๆ ไปน าเสนอให้พนักงานในองค์กรทีเดียว 


 9. กลุ่มความสวยงามและการดูแลความงาม (Beauty & Personal Care) ในกลุ่มนี้ จะมีสินค้าและบริการที่ ใกล้เคียงกับกลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม ที่เน้นการใช้วัตถุดิบที่มาจากธรรมชาติ หรือออร์แกนนิค รวมถึงผลิตภัณฑ์แนวโปรไบโอติก หรือแม้กระทั่งสินค้าเฉพาะด้าน ที่พัฒนาเพื่อดูแลเฉพาะตัวบุคคล สตาร์ทอัพบางรายซื้อฟาร์มออร์แกนิกส าหรับการพัฒนาสินค้า ของตัวเองอย่างแบรนด์ Juice beauty 


10. กลุ่มการท่องเที่ยวและการให้บริการ (Travel & Hospitality) ในความเป็นจริงกลุ่มท่องเที่ยว หรือ Travel tech เป็นกลุ่มธุรกิจที่กว้างมาก ในหมวดนี้จึงเน้นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับด้าน Wellness โดยเฉพาะ เช่น สตาร์ทอัพอย่าง Ketanga Fitness Retreats เป็นผู้บุกเบิกประสบการณ์การออกก าลังกายที่ทันสมัย โดยเป็นออร์แกนไนเซอร์ ที่รับจัดกิจกรรมโปรแกรม ดูแลการออกก าลังกายและพักผ่อนส าหรับองค์กรทั่วโลก 


11. กลุ่มบริการดูแลเพื่อผ้หู ญิงโดยเฉพาะ (Feminine Care) อาจจะเป็นธุรกิจที่ฟังดูแปลกๆ แต่ไม่น่าเชื่อว่า มี สตาร์ทอัพที่ท าธุรกิจด้านนี้ เพื่อช่วยแก้ปัญหาต่างๆ ของผู้หญิงโดยเฉพาะ เช่น สตาร์ทอัพ LOLA ที่พัฒนาสินค้าเพื่อสุขภาพทาง เพศของผู้หญิงเป็นต้น 


12. กลุ่มฟังก์ชันนัลเฮลท์(Functional Health) สตาร์ทอัพในกลุ่มนี้ มักจะน าเสนอบริการในรูปแบบดิจิทัล แพลตฟอร์มด้านสุขภาพที่ผสมผสาน ทั้งเรื่อง Wellness และเรื่องที่เกี่ยวกับสุขภาพในหลากหลายรูปแบบไว้ด้วยกัน ตัวอย่างเช่น บริษัท Maven ให้บริการคลินิกด้านสุขภาพออนไลน์ส าหรับผู้หญิง 


13. กลุ่มอีคอมเมิรซ์ (e-Commerce) ในกลุ่มนี้ จะเป็นกลุ่มสตาร์ทอัพที่เน้นการขายสินค้าบริการ ด้านการส่งเสริม สุขภาพในองค์รวม (Wellness) เช่น Brandless ที่มีความตั้งใจขายสินค้าที่ดีกว่า แต่สามารถเข้าถึงได้ในราคาไม่แพง 


 
 


เกี่ยวกับยุทธศาสตร์ของไทย ที่จะยกระดับไปสู่การเป็นผู้เล่นสำคัญในตลาดเวลเนสโลกนั้น มีการกำหนดแผน  Medical Hub (2560 – 2569) เอาไว้ ด้วยเป้าหมายในการขับเคลื่อน 4 เรื่องหลัก ได้แก่
  1. การเป็นศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสริม สุขภาพ (Wellness Hub)
  2. ศูนย์กลางบริการสุขภาพ (Medical Service Hub)
  3. ศูนย์กลางบริการวิชาการและงานวิจัย (Academic Hub)
  4. ศูนย์กลางยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Product Hub) 
 
โดยในภาพใหญ่ เป็นการขับเคลื่อนโดยนโยบายรัฐ ทำงานร่วมกับองค์กรภาครัฐเป็นหลัก อาทิ ผ่านกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการท่องเที่ยว เป็นต้น  ซึ่งนับว่าเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ยากลำบากในภาวะโควิดระบาด 3 ปีที่ผ่านมา ซึ่งไม่เอื้อให้กลไกโดยรวม รวมทั้งภาคเอกชน เดินหน้าไปได้ 

แต่เมื่อภาวะโควิดพ้นไปแล้ว โลกกำลังกลับสู่เส้นทางการฟื้นตัว นานาประเทศกลับมาสู่เส้นทางที่เคยเป็นมา  สำหรับประเทศไทย การกลับมาของการท่องเที่ยวในประเทศ และนักท่องเที่ยวนานาชาติ ธุรกิจกำลังเดินไป การพัฒนาจึงต้องกลับมา โอกาสของสตาร์ทอัพในสายเวลเนสเฮลท์แคร์ รออยู่ตรงหน้าแล้ว

 
 
 
 
อ้างอิง
Wellness Tech…ตลาดใหญ่ที่น่าสนใจสำหรับสตาร์ทอัพ (ไทย) ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ตลาดทุน (TSI)
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
 
 
 
 
 

ข่าว/บทความล่าสุด
เนื้อหาอ่านล่าสุด