อาการ COVID-19 สายพันธุ์ Omicron
- ข้อมูลเบื้องต้น อาการไม่แตกต่างจากอาการโควิด-19 มากนัก คือ ส่วนใหญ่มีอาการของการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน ได้แก่ ไข้ เจ็บคอ ไอแห้งๆ
- พบบางราย มีอาการปอดอักเสบ แต่ไม่มากนัก
- ให้การรักษาด้วย ยาต้านไวรัส (Favipiravir) หลังมีอาการ ภายใน 3 วัน ผู้ป่วยอาการ ดีขึ้นและ หายเป็นปกติ
ข้อมูลทั่วไป
ประเภทผู้ติดเชื้อ
ผู้เดินทางจากต่างประเทศ 99 ราย
ติดเชื้อในประเทศ 1 ราย
อายุ
ค่ามัธยฐาน 34 ปี
ต่ำสุด 8 ปี สูงสุด 77 ปี
เพศ
ขาย 54 ราย
หญิง 46 ราย
สัญชาติ
ไทย 49 ราย
ต่างชาติ 51 ราย
สัดส่วนผู้ติดเชื้อมีอาการ
มีอาการ 41%
ไม่มีอาการ 48%
อยู่ระหว่างติดตามข้อมูล 11%
ระดับความรุนแรง
อาการเล็กน้อย ไม่มีปอดอักเสบ 34 ราย
มีปอดอักเสบ SpO.> 94% 5 ราย
มีปอดอักเสบ SpO. < 94% 2 ราย
ใส่ท่อช่วยหายใจ ไม่มี
เสียชีวิต ไม่มี
ข้อมูลผู้ป่วยปอดอักเสบ (7 ราย)
- อายุ ค่ามัธยฐาน 48 ปี (ระหว่าง 36 - 77 ปี)
- ทุกรายได้รับ วัดชื่นมามากกว่า 14 วันก่อนตรวจพบเชื้อ AZ (2 dose) 6 ราย PZ (2 dose) 1 ราย ระยะเวลาที่ด้รับเข็มที่ 2: ปลายเดือน ส.ค.- ต.ค. 64
- 2 ราย SPO ต่ำกว่า 94% (โรคประจำตัว DM 1 ปฏิเสธโรคประจำตัว 1)
การเตรียมความพร้อมเตียงรองรับผู้ป่วย
แบ่งระดับเตียงใหม่ ตามความรุนแรงของโรค เพื่อการบริหารจัดการที่เหมาะสม
เตียงระดับ 1 : ไม่ใช้ oxygen
เตียงระดับ 2
ㆍ เตียงระดับ 2.1 : ใช้ oxygen low flow
ㆍเตียงระดับ 2.2 : ใช้ oxygen high flow
เตียงระดับ 3 : ใส่ท่อ & เครื่องช่วยหายใจได้
เตียงระดับ 0 : Home isolation & community isolation
ความพร้อมเตียงรองรับผู้ติดเชื้อโอมิครอน ทั่วประเทศ
ประมาณการเตียงรองรับผู้ติดเชื้อที่มีความรุนแรง 11,000 เตียง
เตียงระดับ 2.2 จำนวน 6,000 เตียง
เตียงระดับ 3 จำนวน 5,000 เตียง
กรณีอาการรุนแรง ต้องนอน 14 วัน จะรับผู้ป่วยได้ 785 ราย/วัน
หากประมาณการว่ามีผู้ติดเชื้อรุนแรงที่ 1.5%
จะทำให้มีการใช้เตียงเพื่อรองรับจำนวน 8,300 คน/วัน
ที่ผ่านมาในกรุงเทพ ช่วงที่มีการใช้เตียงมากที่สุดในเดือนสิงหาคม 2564 ราว 5,000 เตียงต่อวัน
การเตรียมความพร้อมรับมือโอมิครอน รองรับผู้ป่วย
เป็นที่ชัดเจนว่า คำตอบของการรับมือโอมิครอน คือ Home isolation และ Community isolation
Home/Community isolation คุณภาพ
พัฒนาการที่จะมีขึ้นในการบริการรองรับผู้ป่วยที่ต้องกักตัวที่บ้านหรือในชุมชน
กรณีกักตัวที่บ้าน Home isolation
- เร่งรัดกระบวนการ ติดต่อกลับไปหาผู้ป่วยให้เร็วขึ้น จากแพทย์ที่ดูแลของโรงพยาบาลต่างๆ ที่เข้าร่วมโครงการ ให้เร็วที่สุดภายใน 6 ชั่วโมง หลังทราบผลการติดเชื้อ จากเดิมรอ 1 วัน หรือนานกว่านั้น
- เตรียมความพร้อมของอุปกรณ์ & เวชภัณฑ์ & Telemonitor
- อาหาร มีการคุยกับบ.เอกชนไว้สำหรับผลิตรองรับ
Community isolation ที่ภาครัฐจัดไว้สำหรับดูแลรักษาผู้ป่วยในชุมชน
- แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษา COVID-19 ที่ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
- จัดหายาต้านไวรัส COVID-19 ใหม่ ๆ เพิ่มเติม และให้การรักษาตามอาการ
- กทม.เตรียมเตียงไว้สำหรับกรณีผู้ป่วยไม่สามารถอยู่ CI ได้
- นอกจากยังเตรียมเพื่อรองรับสำหรับเด็ก เนื่องจากเป็นกลุ่มที่ยังไม่ได้ฉีดวัคซีน
- ยาโมลนูพิราเวียร์ และ แพกซ์โลวิด รออย.อนุมัติและพร้อมนำเข้า
การเตรียมความพร้อมการรักษาสำหรับผู้ป่วยเด็ก
- สนับสนุนการเตรียมยาน้ำ Favipiravir โดยสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
- Clip VDO แนวทางการเตรียมน้ำยา Favipiravir
- การสนับสนุนยาน้ำ Favipiravir (ในระยะแรก)
- ให้ความรู้การดูแลผู้ป่วยเด็กกับเครือข่าย HI & CI
- ประสานการจัดเตรียมเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา อาทิ Mask สำหรับผู้ป่วยเด็ก
- Community isolation สำหรับผู้ป่วยเด็กที่ต้องมีผู้ปกครองดูแล (อย่างน้อยโซนละ 1 แห่ง & จัดระบบส่งต่อ รพ.เมื่อมีอาการรุนแรง)
- จัดเตรียมเตียงระดับ 3 สำหรับผู้ป่วยเด็กที่มีอาการรุนแรง
วิดีโอ แถลงการ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 27 ธันวาคม 2564