ข่าวสุขภาพ
ข่าวสุขภาพทั่วไป ข่าวธุรกิจสุขภาพไทย ข่าว/กิจกรรม/สาระ รพ.ต่างๆ ข้อมูลบริการ รพ.ต่างๆ สาระความรู้สุขภาพ กิจกรรม ESG CSR Health Economy บริจาครพ.ต่างๆ
น่าสนใจไทยแลนด์
About us เผยแพร่เนื้อหา สถิติเว็บไซต์ สำรวจความเห็นสุขภาพ โฆษณา
healthserv.net@gmail.com

เช็คอาการโอมิครอน ลักษณะอาการเบื้องต้นเป็นอย่างไร

เช็คอาการโอมิครอน ลักษณะอาการเบื้องต้นเป็นอย่างไร Thumb HealthServ.net
เช็คอาการโอมิครอน ลักษณะอาการเบื้องต้นเป็นอย่างไร ThumbMobile HealthServ.net

โอมิครอนเริ่มพบการระบาดมากขึ้นในประเทศแล้ว และจะมากขึ้นและกระจายมากยิ่งขึ้นไปทั่วประเทศ ตั้งแต่หลังปีใหม่ 2565 เป็นต้นไป เพื่อรู้เท่าทันควรรู้สักนิดว่า "ลักษณะอาการของคนที่ติดเชื้อโอมิครอน จะเป็นแบบใด" เพื่อให้สังเกตตนเองหรือคนรอบข้าง จะได้เตรียมตัวเตรียมการระวังป้องกัน หากคิดว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงไปในที่เสี่ยงหรือสัมผัสเสี่ยง ควรรีบตรวจ ATK โดยทันที และตรวจซ้ำใน 3 วัน เพื่อความมั่นใจและปลอดภัยของตัวคุณเอง

 
ข้อมูล ข้อสังเกตอาการของโอมิครอน รวบรวมจากสื่อเผยแพร่ของรพ.ต่างๆ ที่เป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้ เพราะมาจากรพ.โดยตรง รายละเอียดอาจแตกต่างกันได้ แนะนำศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม 

อาการเบื้องต้นผู้ติดเชื้อ สายพันธุ์ Omicron ที่มีอาการ 41 ราย (กรมการแพทย์) LINK

อาการเบื้องต้นผู้ติดเชื้อ สายพันธุ์ Omicron ที่มีอาการ 41 ราย (กรมการแพทย์) เช็คอาการโอมิครอน ลักษณะอาการเบื้องต้นเป็นอย่างไร
อาการเบื้องต้นผู้ติดเชื้อ สายพันธุ์ Omicron ที่มีอาการ 41 ราย (กรมการแพทย์) เช็คอาการโอมิครอน ลักษณะอาการเบื้องต้นเป็นอย่างไร
พบอาการเบื้องต้นผู้ติดเชื้อ สายพันธุ์ Omicron ที่มีอาการ 41 ราย ข้อมูลจากผู้ป่วย 100 รายแรก ของประเทศไทย : ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2564 ที่มา : กรมการแพทย์

เช็ก 6 อาการ โอมิครอน (Omicron) โรงพยาบาลเปาโล พระประแดง LINK

เช็ก 6 อาการ โอมิครอน (Omicron) โรงพยาบาลเปาโล พระประแดง เช็คอาการโอมิครอน ลักษณะอาการเบื้องต้นเป็นอย่างไร
เช็ก 6 อาการ โอมิครอน (Omicron) โรงพยาบาลเปาโล พระประแดง เช็คอาการโอมิครอน ลักษณะอาการเบื้องต้นเป็นอย่างไร
เช็ก 6 อาการ โอมิครอน (Omicron) หรือ B.1.1.529 จากสถานการณ์ไวรัสโควิด 19 ที่มีการกลายพันธุ์เป็น "โอมิครอน" ซึ่งสายพันธุ์นี้ มีความพิเศษตรงที่ สามารถแพร่กระจายได้ง่ายและรวดเร็วกว่าเดิม อีกทั้งยังมีผู้คนติดเชื้อสายพันธุ์นี้มากขึ้นเรื่อยๆ หากคุณมีอาการเบื้องต้นที่ใกล้เคียง แนะนำให้กันตนเองออกจากบุคคลใกล้ชิด หลีกเลี่ยงหรืองดเดินทาง งดเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ และตรวจหาเชื้อไวรัสโควิด ชุดตรวจต้องสามารถรองรับตรวจหาสายพันธุ์ "Omicron" เพื่อยืนยันผล ก่อนที่จะเข้าร่วมกิจกรรม


โอมิครอน เชื้อโควิด-19 สายพันธุ์ใหม่ที่ทั่วโลกเฝ้าระวัง-จับตามอง โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ

อาการของผู้ป่วยป่วยโควิด-19 สายพันธุ์ โอมิครอน ข้อมูลจากผู้ติดเชื้อสายพันธุ์โอมิครอนที่มีอาการ 41 ราย

อาการของผู้ติดเชื้อโควิด โอไมครอน (Spring News) LINK

อาการของผู้ติดเชื้อโควิด โอไมครอน (Spring News) เช็คอาการโอมิครอน ลักษณะอาการเบื้องต้นเป็นอย่างไร
อาการของผู้ติดเชื้อโควิด โอไมครอน (Spring News) เช็คอาการโอมิครอน ลักษณะอาการเบื้องต้นเป็นอย่างไร
อาการของผู้ติดเชื้อโควิด โอไมครอน
• ไอ 54%
• เจ็บคอ 37%
• ไข้ 29%
• ปวดกล้ามเนื้อ 15%
• มีน้ำมูก 12%
• ปวดศีรษะ 10%
• หายใจลำบาก 5%
• ได้กลิ่นลดลง 2% (พบเพียง 1 ราย)
 เช็คอาการโอมิครอน ลักษณะอาการเบื้องต้นเป็นอย่างไร
 เช็คอาการโอมิครอน ลักษณะอาการเบื้องต้นเป็นอย่างไร
อาการ รู้สึกเพลีย ปวดเมื่อยตัว ปวดกล้ามเนื้อ ส่วนใหญ่ 2-3 วัน อาการจะดีขึ้น ไม่ไอ ไม่มีผลกระทบเรื่องได้กลิ่นรับรส วิธีป้องกัน สวมหน้ากากเวลาพูดคุย หมั่นล้างมือ เลี่ยงการอยู่ในพื้นที่แออัด - Pattaya International Hospital

เทียบความรุนแรงเชื้อโควิด-19 โอไมครอน และ เดลต้า LINK

เทียบความรุนแรงเชื้อโควิด-19 โอไมครอน และ เดลต้า เช็คอาการโอมิครอน ลักษณะอาการเบื้องต้นเป็นอย่างไร
เทียบความรุนแรงเชื้อโควิด-19 โอไมครอน และ เดลต้า เช็คอาการโอมิครอน ลักษณะอาการเบื้องต้นเป็นอย่างไร
เทียบความรุนแรงเชื้อโควิด-19 "โอไมครอน" และ "เดลต้า" แตกต่างกันอย่างไร?
ความรุนแรงของเชื้อไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์ใหม่อย่าง "โอไมครอน" ที่กำลังเป็นที่จับตามองทั่วโลก และสายพันธุ์ "เดลต้า"ที่เป็นสายพันธุ์หลักที่แพร่ระบาดในไทย เห็นได้ชัดว่าอาการของโอไมครอนจะไม่แตกต่างจากสายพันธุ์อื่นๆมากนัก แต่ความเร็วในการแพร่ระบาด ค่อนข้างเร็วกว่าสายพันธุ์อื่นๆ และมีโอกาสติดเชื้อซ้ำสูง

สิ่งที่เราควรปฏิบัติ คือ รับวัคซีนให้ครบโดส แม้วัคซีนทุกชนิด จะไม่สามรถป้องกันการดิดเชื้อได้ 100% แต่ก็สามารถป้องกันการเสียชีวิตและการป่วยหนักได้กว่า 90% 
 
 นอกจากนี้ยังคงต้องสวมใส่หน้ากากอนามัย หมั่นล้างมือ เว้นระยะห่าง เพื่อป้องกันโอกาสการติดเชื้อโควิด-19
 
ข้อมูลจาก :  ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.)

ข่าว/บทความล่าสุด
เนื้อหาอ่านล่าสุด