สถานการณ์ปัญหา
จากปัญหาต้านภูมิประเทศของอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ มีโรงพยาบาลชุมชน 1 แห่ง ตั้งอยู่บนพื้นที่เกาะลันตาใหญ่ พื้นที่ตั้งของโรงพยาบาลอยู่บนเกาะ ค่อนข้างห่างไกลจากโรงพยาบาลแม่ข่าย 83 กิโลเมตร การสัญจรและคมนาคมต้องข้ามแพขนานยนต์ ใช้เวลาในการเดินทางส่งต่อผู้ป่วย 2.5 ชั่วโมง มี รพ.สต. 7 แห่ง กระายทุกตำบล
จากสถิติผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ทั้งชาวไทยและต่างชาติ ที่มารับบริการที่แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลเกาะลันตา ปี 2564 - 2566 คือ 45,729, และ 29,847 ราย ตามลำดับ มีผู้ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจรและจบป่วยกเฉิน จำนวน 988, 876 แล: 1,012 ราย ตามสำดับ อำเภอเกาะลันตา เกิดอุบัติการณ์สูงขึ้น การจัดการระบบการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉินไม่ครอบคลุมทั้งอำเภอ
สาเหตุที่ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและทันเวลา เพราะมีระบบการบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ต้อยประสิทธิภาพ ไม่ครอบคลุมผู้ป่วยทุกคนและทุกพื้นที่ ขาตระบบที่เข้าถึงได้ง่าย การช่วย ณ จุดเกิดเหตุ ยังด้อยคุณภาพ ซึ่งทำให้ผู้ป่วยพิการและเสียชีวิตโดยไม่จำเป็น
ซึ่งมีปัญหาการเข้าถึงการบริการของโรงพยาบาล ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตขณะอยู่ที่บ้าน หรือขณะนำส่งโรงพยาบาล
เครือข่ายอำเภอเกาะลันตา มีความต้องการให้ประชาชนในพื้นที่เกาะลันตา สามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินอย่างทั่วถึง ได้มีการจัดตั้งระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เครือข่ายอำเภอเกาะลันตา ทำให้ รพ.สต,. เป็นสถานพยาบาลหลักที่ใกล้ประชาชนที่สุด และมีการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ และยกระดับ รพ.สด. ในพื้นที่ให้เป็นหน่วยกู้ชีพ จำนวน 2 รพ.สด. รวมถึงทรัพยาการทั้งทางบกและทางน้ำโดยการมีส่วนร่วมของ โรงพยาบาลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การให้ความรู้ประชาชนเกี่ยวกับระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินและ 1669
รวมทั้ง มีการขยายเครือข่ายหน่วยปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้นเพิ่มขึ้น ทำให้จำนวนประชาชนที่ปัญหาการเช้าถึงระบบการบริการทางการแพทย์ เข้าถึงระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินพิ่มมากขึ้น สามารถรับบริการได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ระบบการแพทย์ฉุกเฉินอำเภอเกาะลันตา ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลระบบ จะทำให้เกิดความยั่งยืน สุดท้ายประชาชนก็จะได้รับประโยชน์สูงสุดจากการพัฒนาระบบบริการ การแพทย์ฉุกเฉินเกาะสนตาต่อไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้มีป่วยวิกฤติเข้าถึงระบบบริการ ลดเสียชีวิตก่อนถึงรพ.
2. เพื่อให้ประชาชนและนักท่องเที่ยว ในเขตพื้นที่อำเกอเกาะลันตา สามารถเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินเพิ่มขึ้น
3. เพื่อขยายเครือข่ายหน่วยปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้นในอำเกาะลันตา
4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้นริการการเพทย์ฉุกเฉินอำเภอเกาะลันตา
ผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้น คือ การเช้าถึงระบบ 1669 ในเขตพื้นที่อำเภอเกาะลันตา สามารถเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินเพิ่มขึ้น มีการยกระดับ BLS รพ.สต ในพื้นที่ จำนวน 2 แห่ง เป็น ALS และเนเครีอข่ายกู้ชีพ BLS จำนวน 1 หน่วย คือ BLS อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา ส่งผลให้ผู้ป่วยกลุ่มสีแดง และ fast track เชำรับการรักษาที่รวดร็ว เพิ่มโอกาสการรอดชีวิต ลตการตาย สามารถใช้ชีวิตได้ปกติ
ประโยชน์ของผลการดำเนินงาน
1. ผู้ป่วยวิกฤติ ฉุกเฉิน เข้าถึงระบบบริการ ลดเสียชีวิตก่อนถึงโรงพยาบาล
2. ประชาชนและนักท่องเที่ยว ในเขตพื้นที่อำเภอเกาะลันตา สามารถเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน(EMS) เพิ่มขึ้น
3. การคืนข้อมูลให้กับ อปก.ต่างๆ เพื่อขยายทีมเครือข่ายกู้ชีพกู้ภัยในชุมชนให้ครอบคลุมทุกตำบลและเพิ่มประสิทธิภาพ ในการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินอำเภอเกาะลันตา