ข่าวสุขภาพ
ค้นหา รพ.-คลินิก-ร้านยาทั่วไทย ร้านยาคุณภาพของฉัน บริการสุขภาพ คลินิกเอกชน งาน รพ.
บริการวัคซีนโควิด บริการตรวจโควิด
ตำแหน่งงาน
ข่าวสุขภาพทั่วไป ข่าวธุรกิจสุขภาพไทย ข่าวธุรกิจสุขภาพรอบโลก กิจกรรม-บริการ รพ.ต่างๆ สิทธิสุขภาพชาวไทย สาระความรู้สุขภาพ Health Economy ท่องเที่ยวสุขภาพ กิจกรรม ESG CSR กิจกรรม Event บริจาค
น่าสนใจไทยแลนด์
English
About us เผยแพร่เนื้อหา สถิติเว็บไซต์ สำรวจความเห็นสุขภาพ โฆษณา
healthserv.net@gmail.com

ความรู้สุขภาพ

สาระ ความรู้ บทความ เรื่องสุขภาพด้านต่างๆ จากหน่วยงานรัฐ มหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญ เว็บไซต์ social media สื่อต่างๆ ฯลฯ นำมาเผยแพร่เพื่อเป็นประโยชน์กับผู้สนใจ ศึกษาเรียนรู้ ป้องกันและดูแลสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ

เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร บริการ บทความ ส่งมาที่ healthserv.net@gmail.com Home / ความรู้สุขภาพ
Thumb1

นั่งนานๆ เสี่ยงหลายโรค เปลี่ยนท่านั่ง ป้องกันอาการปวดเมื่อยเรื้อรังได้

มื่อเวลาที่เรา “นั่ง” ระบบย่อยอาหารจะทำงานช้าลง ก่อให้เกิดอาการต่าง ๆ ท้องผูก จุก ท้องอืด เป็นตะคริว อวัยวะภายในเสี่ยงอันตราย เช่น หัวใจ เพราะการนั่งทำให้เลือดไหลเวียนช้าลง กล้ามเนื้อเผาผลาญไขมันได้น
Thumb1

อาบน้ำหลังกินอาหาร ไม่มีผลต่อการย่อยอาหารนะ หมอบอก

เราคงเคยได้พบข้อมูลตามเน็ต ตามโซเชี่ยล หรือเคยได้ยินคำเตือนกันมาว่า อาบน้ำหลังกินอาหารไม่ดี ไม่ควรทำ จะทำให้เป็นโน่นนั่นนี่ ซึ่งก็มีคำถามตามมาว่า "จริงหรือ" และแน่นอนว่า ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์-สำนักข่าวไทย ได้ทำหน้าที่ตรวจสอบประเด็นนี้ให้แล้ว ว่า "หลังกินอาหารอิ่ม ห้ามอาบน้ำเพราะจะมีผลต่อระบบการย่อยอาหาร เรื่องนี้จริงหรือไม่" จากคุณ
Thumb1

ตะคริว เกิดจากอะไร เป็นแล้วแก้อย่างไร

ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่ อาจเกิดมาจากหลายสาเหตุ
Thumb1

วิตามินเสริมอาหาร ไม่ใช่อาหาร ไม่สามารถกินแทนกันได้

วิตามิน คือ สารอาหารที่มีหน้าที่ช่วยในการทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย การขาดวิตามินอาจเป็นสาเหตุของโรคต่าง ๆ ได้ โดยในปัจจุบันวิตามินได้ถูกค้นพบหลากหลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดจะมีประโยชน์ในตัวเอง ยกตัวอย่างเช่น วิตามิน A วิตามิน B1 วิตามิน B6 วิตามิน B12 ฯลฯ
Thumb1

สุดยอด 20 อาหารล้างพิษ ที่คนรักสุขภาพต้องไม่พลาด

คนโบราณและนักโภชนาการมักกล่าวว่า "อาหาร" เป็นยาที่วิเศษที่สุด เพราะเป็นแหล่งรวมของสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย แต่ใช่ว่าต้องเป็นอาหารที่มีราคาแพงอย่างเป๋าฮื้อ หูฉลาม รังนก หรือของหายากอย่างดีหมีเท่านั้น ถึงจะให้คุณประโยชน์ต่อร่างกายได้ เพราะจากการศึกษาแล้วพบว่าอาหารที่เราหาได้ตามท้องตลาดในชีวิตประจำวันก็มี ประโยชน์ในตัวไม่ใช่น้อย ที่ส
Thumb1

สรุปเนื้อหา : จัดการวัคซีนอย่างไรจึงได้ประโยชน์สูงสุด HITAP

สรุปเนื้อหาจากงานวิชาการเรื่องการจัดการวัคซีนของ HITAP เมื่อ 29 มกราคม 2664 โดยเพจ อายุรศาสตร์ ง่ายนิดเดียว
Thumb1

11 ลักษณะของคนฉลาด สังเกตได้ไม่ยาก

ผู้เขียนมีโอกาสอ่านบทความจาก web MD ที่บอกถึงลักษณะของคนที่ฉลาดที่เราอาจคาดไม่ถึง ยกตัวอย่างเช่น คนที่ชอบนอนดึก คนที่เป็นพี่คนโต คนที่ชอบเลี้ยงแมว และอื่นๆอีกที่น่าสนใจ

6 วิธีดูแลผิวในหน้าหนาวให้ชุ่มชื้นตลอดวัน

หากตลอดฤดูกาลที่ผ่านมาผิวพรรณของคุณคงความสวยนุ่มชุ่มชื้นอยู่เสมอ แต่เมื่อลมหนาวพัดมาสภาพความชุ่มชื้นที่เคยมีก็กลับค่อยๆ จางไปเหลือไว้แต่ผิวที่แห้งกร้านและลอกแตกเป็นขุย แต่ 6 วิธีดูแลผิวหน้าหนาวดังที่เราหยิบมาฝากกันในวันนี้สามารถช่วยถนอมความชุ่มชื้นให้คงอยู่บนผิวสวยของคุณอย่างยาวนานตลอดฤดูแน่นอนค่ะ มีอะไรบ้างนั้นมาดูกันเลย
Thumb1

สั่งอาหารดีลิเวอรี่ (Delivery) อย่างไร ปลอดภัยห่างไกลโควิด-19

พฤติกรรมการซื้อของดีลิเวอรี่ (Delivery) เพื่อลดความเสี่ยงในการติดหรือแพร่เชื้อโควิด มีข้อแนะนำ 4 ข้อป้องกัน
Thumb1

โรคสมองเสื่อมชนิด ติดต่อได้ : ปฐมบทจาก คูรู วัวบ้า มาถึงอัลไซเมอร์ - หมอดื้อ

โรคสมองเสื่อมจัดเป็นโรคที่มีการอักเสบในสมองและการอักเสบนอกสมองเป็นตัวจุดประกายและทำให้โรคพัฒนาไปเร็วขึ้น ดังนั้นจัดเป็นสมองอักเสบชนิดหนึ่งที่ไม่มีเซลล์อักเสบแทรกตัวให้เห็น (neuroinflammatory disease) และไม่ถือว่าเป็นความเสื่อมเฉยๆแบบดั้งเดิม (neurodegenerative disease) ทั้งนี้ด้วยมีความไม่สมดุลระหว่าง ปริมาณและรูปแบบของโปรตีน (proteostasis) ทำให้เก
Thumb1

แอมเฟตามีน วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท

แอมเฟตามีน เป็นวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท และเป็นยาเสพติดตามกฎหมาย ยาพวกนี้ทำให้ปากแห้ง มือสั่น วิตกกังวล นอนไม่หลับ ถ้าใช้ยาเกินขนาดจะทำให้ความดันเลือดสูง ไข้สูง คลุ้มคลั่ง ประสาทหลอน ชัก และอาจตายได้ แต่ถ้าใช้ยาติดต่อกันนานๆ จะทำให้สมองเสื่อม ตื่นเต้นตกใจง่าย นอนไม่หลับ น้ำหนักลด
Thumb1

ผัก ผลไม้ กินดี ฤทธิ์เย็น ช่วยดับพิษร้อน

นับวันโลกจะร้อนระอุขึ้นทุกทีๆ นี่ก็เข้าใกล้ฤดูที่หลายๆ คนในบ้านเราคงต้องเหงื่อตก วิ่งมองหาเครื่องปรับอากาศหรือไม่ก็ซื้อเครื่องดื่มเย็นๆ ซ่า ๆ มาดับกระหายอาการร้อนตับแลบให้ชื่นใจ แต่ก็แค่พอเป็นกระสัยประเดี๋ยวประด๋าว ออกมาข้างนอกหรือหมดฤทธิ์เครื่องดื่ม เราก็ต้องกลับมาร้อนอีกตามเคย หรือบางครั้งอาจจะร้อนกว่าเคยขึ้นไปอีก
Thumb1

คลินิคโรคน้ำเหลืองไม่ดี

ภาวะน้ำเหลืองไม่ดี Poor lymph disorder คือ ปรากฏการณ์ที่อวัยวะมีการอัดอั้น congestion ระบายน้ำเหลืองไม่ราบรื่น ที่เมื่อเรื้อรังก็จะอุดอู้ stasis ของเสียจะคั่งค้าง ไม่ถ่ายออกเทไป ทำให้ก่ออักเสบได้ง่าย โดยเฉพาะเมื่อเกิดมีการแสลงอาหาร จากผลิตภัณฑ์สัตว์ (เนื้อไข่นม) ปนการแทรกซ้อนที่ติดเชื้อตามผิวหนัง กลายเป็นโรคน้ำเหลืองเสีย Bad lymph sickness
Thumb1

เอนไซม์ กุญแจแห่งชีวิต

เอนไชม์คือโปรตีนชนิดหนึ่งซึ่งสร้างขึ้นในร่างกาย เอนไชม์ถือเป็นตัวช่วยเร่งปฏิกิริยาเคมีที่สำคัญใน กระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในร่างกาย นอกจากนี้เอนไซม์ยังถือว่ามีบทบาทในกระบวนการเผาผลาญอาหาร (metabolism), วินิจฉัยโรค (diagnosis)

แม็คโครไบโอติกส์ (Macrobiotics)

การรับประทานอาหารของแม็คโครไบโอติกส์จะเป็นการรับประทานอาหารให้สอด คล้องกับสภาวะของยินและหยางในธรรมชาติที่เปลี่ยนไป ตามกาลเวลาและสถานที่
Thumb1

ป้องกันพฤติกรรม... Bully ด้วย 4 วิธี

Bully เป็นการแสดงความก้าวร้าวรุนแรง กลั่นแกล้ง รังแกผู้อื่นทั้งทางวาจาและร่างกาย เป็นการใช้อำนาจที่ไม่ถูกต้อง ที่พบบ่อยมักเป็นการล้อเลียน รูปร่าง หน้าตา สถานะทางสังคม รวมถึงการประจานกันทางโซเชียลมีเดีย
Thumb1

อาหารสำหรับผู้ป่วยมะเร็งและผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด

อาหารเป็นสิ่งสำคัญส่วนหนึ่งในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง การรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารเพียงพอเหมาะสม ก่อน ระหว่าง และหลังการรักษาจะช่วยให้ผู้ป่วยแข็งแรงขึ้นและมีความรู้สึกดีขึ้น มีกำลังใจที่จะต่อสู้กับโรค เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับโภชนาการที่เหมาะสม
Thumb1

ผัก 5 ชนิด ช่วยเพิ่มปริมาณน้ำนมหลังคลอด

หัวใจสำคัญของคุณแม่หลังคลอด ควรกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ในแต่ละวันได้รับสารอาหารที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เพราะถ้าคุณแม่กินอาหารเพียงพอ สุขภาพแข็งแรง ไม่เครียด น้ำนมจะเพียงพอสำหรับลูกน้อย จึงมีคำแนะนำให้เลือกทานผัก บางชนิด ที่ช่วยเพิ่มปริมาณน้ำนมได้ดี

โรคมะเร็งตับ สัมภาษณ์ในรายการ Happy&Healthy

ถอดจากการสัมภาษณ์ ในรายการ Happy&Healthy ช่วง Health Talk FM.102 ทุกวันเสาร์ 09.00 -10.00 น.
Thumb1

อาหารกับโรคไขมันในเลือดสูง

การปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินชีวิตนั้น เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการป้องกันความดันโลหิตสูง สำหรับการดูแลผู้ป่วยที่มีโรคความดันโลหิตสูง ในผู้ที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน โดยน้ำหนักตัวที่ลดลง 10 กิโลกรัม จะลดความดันโลหิตซิสทอลิค (ความดันช่วงหัวใจบีบตัว) ได้โดยเฉลี่ย 5-20 มิลลิเมตรปรอท
Thumb1

โภชนบำบัดผู้ป่วยโรคอ้วน

การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตความเป็นอยู่และสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันของประเทศไทยแตกต่างไปจากเดิมอย่างมาก เมื่อก่อนซื้อของในตลาด ปัจจุบันซื้ออาหารสำเร็จรูปจากร้านสะดวกซื้อปัญหาสุขภาพที่ตามมาจึงพบมากขึ้น ได้แก่ ภาวะอ้วน โรคความดันโลหิตสูง ไขมันสูง ปัญหาโรคอ้วน พบในหลายประเทศทั่วโลก จากรายงานขององค์การอนามัยโลก ระบุว่า อัตราการเกิดโรคอ้วนเพิ่มขึ้นเป็น3เท่าตัว
Thumb1

โภชนบำบัดโรคผอม อาหารและพฤติกรรมแนะนำ

สาเหตุเกิดจากร่างกายสูญเสียพลังงาน หรือใช้พลังงานไปมากกว่าที่ร่างกายได้รับ ก็จะทำให้น้ำหนักตัวลดลงหรือมีน้ำหนักตัวน้อยผิดปกติ หรือได้รับพลังงานและสารอาหารไม่เพียงพอ เช่น ความยากจน เบื่ออาหาร ไม่เบื่ออาหารแต่กลัวอ้วน จึงล้วงคอเพื่อให้อาเจียน เรียกโรคนี้ว่าบูลิเมีย เนอร์โวซา (bulimia nervosa) เกิดค่านิยมผิดๆยิ่งผอมยิ่งสวย จิตเวชที่ไม่ทานอาหารเลยพบมาก
Thumb1

โภชนบำบัดสู้โรคเบาหวาน หลัก 9 ข้อ เพื่อการกินที่ดีต่อสุขภาพ

โภชนบำบัด คือ ความสมดุลของทุกองค์ประกอบของอาหารที่ร่างกายต้องรับและนำไปใช้ในชีวิต องค์ประกอบของอาหารเหล่านั้น ได้แก่ พลังงาน คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน คอเลสเตอรอล เส้นใยอาหาร โซเดียม ทั้งหมดผสมผสานกลมกลืนกันในอาหารที่เราบริโภคในทุกวัน การกำหนดและเลือกรับประทานอย่างมีระบบ จะช่วยบรรเทาความรุนแรงและนำพาให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างปกติมากขึ้น มีความสุขมาก

วัคซีนหลักและวัคซีนเสริมสำหรับเด็ก และช่วงเวลาที่เหมาะสม

สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย ได้กำหนดวัคซีนพื้นฐาน เป็นวัคซีนที่เด็กไทยทุกคนควรได้รับ เน้นวัคซีนป้องกันโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ โดยกระทรวงสาธารณสุขจัดระบบบริการเพื่อให้เด็กทุกคนในประเทศได้รับวัคซีนตามกำหนด โดยให้สถานบริการสาธารณสุขของรัฐเป็นหน่วยบริการหลัก

การรับวัคซีนของเด็ก ช่วง COVID-19 จำเป็นหรือไม่

มีประเด็นคำถามเกิดขึ้นเกี่ยวกับการเข้ารับการฉีดวัคซีนของเด็กในช่วงโควิด-19 ระบาด ว่ามีความจำเป็นหรือไม่ ความกังวลเกี่ยวกับเข้ารับบริการ การเตรียมตัวเตรียมการอย่างไร ซึ่งคำตอบเหล่านั้น มีดังนี้
Thumb1

คำแนะนำการปฏิบัติตัว เมื่อแยกตัวอยู่ที่บ้าน (Home Isolation)

ผู้ป่วยโควิด-19 ส่วนใหญ่มีอาการไม่รุนแรง อาจไม่จำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาที่โรงพยาบาล หรืออยู่โรงพยาบาลเพียงระยะสั้นๆ แล้วไปพักฟื้นต่อที่บ้านหรือสถานพักฟื้น ซึ่งผู้ป่วยที่มีอาการน้อยนี้ ส่วนใหญ่จะค่อย ๆ ดีขึ้นจนหายสนิท แต่ในช่วงปลายสัปดาห์แรก ผู้ป่วยบางราย อาจมีอาการมากขึ้นได้ ผู้ป่วยต้องคอยสังเกตอาการ เมื่อไม่แน่ใจ โทรศัพท์ปรึกษา หรือเข้าไปรับ