ข่าวสุขภาพ
ค้นหา รพ.-คลินิก-ร้านยาทั่วไทย ร้านยาคุณภาพของฉัน บริการสุขภาพ คลินิกเอกชน งาน รพ.
บริการวัคซีนโควิด บริการตรวจโควิด
ตำแหน่งงาน
ข่าวสุขภาพทั่วไป ข่าวธุรกิจสุขภาพไทย ข่าวธุรกิจสุขภาพรอบโลก กิจกรรม-บริการ รพ.ต่างๆ สิทธิสุขภาพชาวไทย สาระความรู้สุขภาพ Health Economy ท่องเที่ยวสุขภาพ กิจกรรม ESG CSR กิจกรรม Event บริจาค
น่าสนใจไทยแลนด์
English
About us เผยแพร่เนื้อหา สถิติเว็บไซต์ สำรวจความเห็นสุขภาพ โฆษณา
healthserv.net@gmail.com

รู้จักวัคซีนภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป LAAB สำหรับปกป้องกลุ่มเปราะบาง

รู้จักวัคซีนภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป LAAB สำหรับปกป้องกลุ่มเปราะบาง HealthServ.net
รู้จักวัคซีนภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป LAAB สำหรับปกป้องกลุ่มเปราะบาง ThumbMobile HealthServ.net

ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป Long-acting antibody หรือ LAAB เป็นภูมิคุ้มกันสำเร็จรูปป้องกันโควิด 19 ในกลุ่มบุคคลที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ นั่นคือ กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป และ กลุ่มผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว 7 กลุ่ม โรคเรื้อรัง

ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป Long-acting antibody หรือ LAAB คือ แอนติบอดีออกฤทธิ์ยาวที่ประกอบด้วยแอนติบอดี 2 ชนิด ได้แก่ Tixagevimab และ Cilgavimab

เป็นภูมิคุ้มกันสำเร็จรูปป้องกันโควิด 19 ในกลุ่มบุคคลที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ

วัคซีน LAAB สำหรับ 3 กลุ่ม 
  • กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่ยังไม่ได้รับวัคซีนโควิด-19 
  • กลุ่มอายุ 70 ปีขึ้นไป ที่ฉีดวัคซีนโควิดเข็มสุดท้ายเกิน 6 เดือน 
  • กลุ่มผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว 7 กลุ่ม โรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตวายเรื้อรัง โรคหลอดเลือดสมอง โรคอ้วน โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน 
    **กลุ่มนี้ ควรปรึกษาแพทย์ก่อนเข้ารับวัคซีน 
 
รู้จักวัคซีนภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป LAAB สำหรับปกป้องกลุ่มเปราะบาง HealthServ
 

การทำงานของ LAAB จะเป็นการช่วยเสริมภูมิคุ้มกันในผู้ที่ตอบสนองต่อวัคซีนได้น้อยกว่าคนทั่วไป เมื่อฉีดเข้าไปแล้วร่างกายจะสร้างภูมิต้านทานต่อเชื้อโควิดได้ทันที ทำให้เกิดประโยชน์อย่างมากในการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตในกลุ่มผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง ซึ่งในต่างประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สหภาพยุโรป และอีกกว่า 30 ประเทศทั่วโลก ได้มีการขึ้นทะเบียนใช้ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป LAAB ในการรักษาผู้ป่วยโควิดกลุ่มเปราะบางที่เสี่ยงต่อการเสียชีวิตแล้ว

คนไทย 3 กลุ่ม สามารถติดต่อเข้ารับการฉีดภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป หรือ Long Acting Antibody (LAAB) ได้ที่สถานพยาบาล เพื่อป้องกันการป่วยหนัก ลดโอกาสเสียชีวิตแก่ประชาชน

ข้อมูลจาก รพ.ราชวิถี  ภาพจาก รพ.เลิดสิน
 

LAAB ต่างจากวัคซีนอย่างไร

 

LAAB เหมาะกับใคร

 

เกณฑ์ใหม่การรับ LAAB

 

้ห้ามใช้ LAAB

 

อาการข้างเคียงหลังฉีดยา LAAB

 

การรายงานอาการข้างเคียง จากการรับ LAAB

 
ข่าว/บทความล่าสุด
เนื้อหาอ่านล่าสุด