ข่าวสุขภาพ
ค้นหา รพ.-คลินิก-ร้านยาทั่วไทย ร้านยาคุณภาพของฉัน บริการสุขภาพ คลินิกเอกชน งาน รพ.
บริการวัคซีนโควิด บริการตรวจโควิด
ตำแหน่งงาน
ข่าวสุขภาพทั่วไป ข่าวธุรกิจสุขภาพไทย ข่าวธุรกิจสุขภาพรอบโลก กิจกรรม-บริการ รพ.ต่างๆ สิทธิสุขภาพชาวไทย สาระความรู้สุขภาพ Health Economy ท่องเที่ยวสุขภาพ กิจกรรม ESG CSR กิจกรรม Event บริจาค
น่าสนใจไทยแลนด์
English
About us เผยแพร่เนื้อหา สถิติเว็บไซต์ สำรวจความเห็นสุขภาพ โฆษณา
healthserv.net@gmail.com

ความรู้สุขภาพ

สาระ ความรู้ บทความ เรื่องสุขภาพด้านต่างๆ จากหน่วยงานรัฐ มหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญ เว็บไซต์ social media สื่อต่างๆ ฯลฯ นำมาเผยแพร่เพื่อเป็นประโยชน์กับผู้สนใจ ศึกษาเรียนรู้ ป้องกันและดูแลสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ

เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร บริการ บทความ ส่งมาที่ healthserv.net@gmail.com Home / ความรู้สุขภาพ
Thumb1

ไทรอยด์หรืออ้วน เข้าใจให้ถูกก่อนเริ่มรักษา

เมื่อน้ำหนักขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ ตัวบวม รู้สึกอ้วนอึดอัด หลายคนมักสงสัยว่าเกิดจากต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติหรือเป็นโรคอ้วนกันแน่ ดังนั้นการพบแพทย์เพื่อตรวจเช็กและทำความเข้าใจให้ถูกต้องก่อนเริ่มรักษาจึงเป็นเรื่องสำคัญเพื่อจะได้ทราบต้นเหตุที่แท้จริงและดูแลตัวเองได้อย่างถูกวิธี
Thumb1

ควันบุหรี่มือสาม ไม่เห็นควัน แต่อันตราย

แพทย์เตือน ควันบุหรี่มือสามแม้ไม่เห็นควันแต่อันตราย ผู้ที่สัมผัสควันบุหรี่มือสามทางผิวหนังทำให้เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ทำให้เกิดการอักเสบของผิวหนัง ส่งผลเสียต่อการทำหน้าที่ของโปรตีนในพลาสมามนุษย์ และก่อเกิดมะเร็งได้
Thumb1

ดัชนีสุขภาพ : ภาวะหัวใจล้มเหลว

ข้อมูลภาวะโรคหัวใจล้มเหลวจากสถาบันการแพทย์ สถานพยาบาล องค์กรแพทย์ ในหลายมิติที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนทุกระดับที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นตัวผู้ป่วย ครอบครัว ญาติ แพทย์ บุคลากร ผู้เกี่ยวข้อง
Thumb1

เตือนภัยกินแมงดาทะเล ต้องดูให้ดี แบบไหนกินได้-แบบไหนมีพิษ ห้ามกิน

แมงดาทะเลมี 2 ชนิดคือ 1.แมงดาจาน หรือแมงดาทะเลหางเหลี่ยม ไม่มีพิษ รับประทานได้ และ 2.แมงดาถ้วย หรือ แมงดาทะเลหางกลม หรือเห-รา หรือแมงดาไฟ จะมีพิษ รับประทานไม่ได้ หากจะกินต้องเห็นตัวก่อนเพื่อแยกแยะให้ได้ ถ้าไม่เห็นตัวไม่แนะนำให้กิน เพราะเสี่ยงเกินไป
Thumb1

กฎ 3D ...ช่วยชะลอความเสื่อมไตวายเรื้อรัง

หากมีอาการปัสสาวะขัดหรือลำบาก ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะกลางคืนบ่อยกว่าปกติ หลายคนอาจจะคิดถึงโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินปัสสาวะ แต่ทั้งนี้ทราบหรือไม่ว่านี่อาจเป็นสัญญาณเตือนสำคัญของไตวายเรื้อรัง ซึ่งไตวายเรื้อรังเปรียบได้เสมือนฆาตกรเงียบ เนื่องจากในช่วงแรกแทบไม่มีสัญญาณเตือนและอาการจะปรากฏชัดเจนในช่วงระยะท้าย เมื่อไตได้รับความเสียหายไปมากแล้ว
Thumb1

โรคไวรัสมาร์บูร์ก มฤตยูร้ายระดับเดียวกับอีโบล่า

โรคติดเชื้อไวรัสมาร์บูร์ก เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสมาร์บูร์ก (Marburgvirus) เป็นเชื้อไวรัสเฉพาะถิ่นที่พบในป่าแถบศูนย์สูตรของแอฟริกา จากการศึกษาพบว่าเชื้อนี้ มีสัตว์เป็นพาหะ พบในค้างคาวผลไม้อียิปต์ (Rousettus aegyptiacus) โรคไวรัสมาร์บวร์ค จัดเป็นกลุ่มโรคไข้เลือดชนิดหนึ่งจากไวรัส ชนิดเฉียบพลันรุนแรง มีอัตราการแพร่ระบาดสูงและเร็ว มีลักษณะคล้ายโรคไวรัสอีโบลา ผู้ป่วยจะมีอัตราป่วยตายสูงมาก
Thumb1

โรงพยาบาลน่านเตือนภัย ไข้หูดับ ปีนี้เจอแล้ว 5 ราย!

"โรคไข้หูดับ" หรือเชื้อโรคสเตรปโตคอคคัส ซูอิส เป็นเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในต่อมทอลซิลของหมู โรคนี้เกิดได้ทั้งปี แต่มักจะมีการระบาดในช่วงฤดูฝน ซึ่งเป็นช่วงฤดูฝน ซึ่งเป็นช่วงที่หมูมีภูมิคุ้มกันอ่อนแอ เชื้อจะกระจายเข้าสู่กระแสเลือดของหมู ทำให้หมูตาย หากมีผู้นำเนื้อหมูหรือเลือดหมูมารับประทานแบบไม่ผ่านความร้อน จะทำให้ติดเชื้อได้
Thumb1

5 เมนูอาหารไทยเสริมภูมิต้านทาน จากหมอโภชนาการ

หมอโภชนาการ ย้ำผู้บริโภคเลือกรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เพียงพอตามหลักโภชนาการ ได้รับ แนะ 5 เมนูอาหารช่วยเสริมภูมิต้านทานของร่างกาย ลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อโรคโควิด-19 และโรคต่างๆ ได้
Thumb1

หอมกัน จูบกัน ไม่ทำให้ฟันผุนะเธอ

กรมการแพทย์ โดยสถาบันทันตกรรมแจง โรคฟันผุเกิดจากหลายสาเหตุ แต่ไม่ใช่โรคที่ติดต่อผ่านการหอมหรือจูบ ควรใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง เลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
Thumb1

คุยเรื่องไตไขความจริง โรคไต 101 : สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง อาการ โรคไตเรื้อรัง

โครงการ คุยเรื่องไต ไขความจริง โดยสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย เชิญ น.อ. หญิง พญ. วรวรรณ ชัยลิมปมนตรี อายุรแพทย์โรคไต ประธานคณะอนุกรรมการป้องกันโรคไตเรื้อรัง มาให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรคไต ในตอน โรคไต 101 มุ่งเสริมความเข้าใจถึงสาเหตุและปัจจัยเสี่ยง อาการของโรค ตลอดจนวิธีการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันและชะลอความเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
Thumb1

แพทย์ ย้ำ เนื้อไก่ไม่ใช่สาเหตุของโรคเกาต์

หมอศิริราช เผยการรับประทานเนื้อไก่มากๆ ไม่ได้ทำให้เป็นโรคเกาต์ ผู้ที่มีกรดยูริกในเลือดปกติไม่ต้องกังวล ย้ำรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ หลากหลาย ส่วนผู้ป่วยโรคเกาต์หรือผู้ที่มีภาวะกรดยูริกในเลือดสูง ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีพิวรีนปริมาณมาก เพื่อลดความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดโรคนี้ได้
Thumb1

30 วัน ลดละเลี่ยง โซเชียล (30 days Social Media Detox)

มติมหาชนที่คนทั้งโลกเห็นพ้องและฟันธงไปแล้วว่า "โซเชียลเป็นการเสพติด" ความจริงของยุคสมัยที่ไม่อาจปฏิเสธ ก็เห็นจริงอย่างเขาว่านะ ไม่งั้นคงไม่พ
Thumb1

อาหาร 10 ชนิดที่กระตุ้นไมเกรน

อาหาร เป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่กระตุ้นอาการปวดหัวไมเกรนได้ แต่ละคนอาจมีความไวต่ออาหารต่างประเภทกันไป จากข้อมูลที่มีการศึกษา พบว่าอาหาร 10 ประเภท เหล่านี้ มีผลต่อไมเกรนค่อนข้างมากในลำดับต้นๆ อาทิ คาเฟอีน แอลกอฮอล์ อาหารปรุงด้วยผงชูรส
Thumb1

มีกี่ประเทศในโลก ที่การสมรสเท่าเทียมถูกกฏหมาย

การสมรสเพศเดียวกัน (Same-sex marriage) หรือ การสมรสเท่าเทียม หรือการสมรสเกย์ (Gay marriage) เป็นคำเรียกการสมรสของบุคคลสองคนที่เป็นคนเพศเดียวกัน ชายกับชาย หรือหญิงกับหญิง ปัจจุบันมีทั้งหมด 34 ประเทศที่มีกฏหมายรับรองการสมรสเพศเดียวกัน ล่าสุดคือประเทศอันดอร์ร่า ออกกฏหมายเมื่อต้นปี 2023
Thumb1

จบปัญหาผมร่วงผมบาง ด้วยเทคโนโลยีใหม่ไม่ต้องผ่าตัด ที่ BDMS Wellness Clinic

ผมร่วง อาจมองว่าเป็นเรื่องเล็ก แต่ปฏิเสธไม่ได้ว่าเส้นผมเป็นเรื่องของบุคลิกภาพ ช่วยเติมเต็มความมั่นใจ เส้นผมที่แข็งแรงยังบ่งบอกถึงการมีสุขภาพที่ดี ซึ่งบ่อยครั้งแพทย์จะทราบสัญญาณการเจ็บป่วย หรือรอยโรคของคนไข้ได้จากเส้นผม
Thumb1

6 สาเหตุ ทำให้สเปิร์มชาย อ่อนแอและลดลง

สเปิร์มสิ่งหนึ่งเป็นตัวบอกถึงสุขภาพของท่านสุภาพบุรุษได้ ท่านที่มีสเปิร์มอ่อนแอ จำนวนน้อย ไม่แข็งแรง ส่งผลหลายอย่าง และยังสะท้อนถึงเหตุอย่างที่น่ากังวลได้อีกด้วย
Thumb1

กินอาหารอุ่นจากไมโครเวฟ ปลอดภัยมั๊ย เสี่ยงอันตรายจริงหรือ

เตาอบไมโครเวฟ ทำงานโดยแผ่คลื่นย่านความถี่ไมโครเวฟ เข้าไปในอาหาร ทำให้อนุภาคของน้ำ (รวมทั้งไขมัน และ น้ำตาล) ในอาหาร ดูดซับพลังงาน เกิดการสั่นสะเทือนขึ้นจนกลายเป็นความร้อน ทำให้อาหารอุ่น/ร้อนขึ้น ทำให้อาหารสุก นำไปรับประทานได้
Thumb1

ประโยชน์ 7 ข้อของเนื้อไก่ ที่สายเฮลท์ตี้ต้องยกนิ้วให้

นักวิชาการโภชนาการ ระบุ เนื้อไก่มีประโยชน์มากมาย ทำให้ถูกยกเป็นหนึ่งในสุดยอดอาหาร พร้อมแนะปริมาณการรับประทานเนื้อไก่ให้ได้โปรตีนเพียงพอกับแต่ละช่วงวัย ย้ำเลือกซื้อจากแหล่งมีมาตรฐาน ปรุงสุกก่อนรับประทานทุกครั้งเพื่อความปลอดภัย
Thumb1

แตงโมต้มน้ำตาล รักษาโรคไตไม่ได้

จากกระแสข่าวที่แชร์กันอยู่ใน สื่อออนไลน์ ประเด็นการต้มแตงโมไฟอ่อนผสมน้ำตาล และปั่นทิ้งไว้ 4-5 วัน จะได้น้ำเหนียวๆ เรียกว่า น้ำตาลแตงโมกินครั้งละ 1 ช้อนโต๊ะ วันละ 2 ครั้ง เช้า - เย็น จะช่วยรักษาโรคไตได้ ซึ่งคำแนะนำในเรื่องนี้ กรมอนามัยยืนยัน ไม่เป็นความจริง
Thumb1

ใครชอบ..สด เสี่ยงติด ซิฟิลิส สุดๆ เลยนะรู้ป่ะ

ซิฟิลิสน่ากลัวมาก ขอบอก เหวอะมาก ใส่ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มี SEX ช่วยได้ชัวร์ ถ้าหวั่นใจไปตรวจที่คลินิกบางรักได้ฟรี ตลอดปี 2565 เลย
Thumb1

เบนจามิน บัตตัน เอฟเฟค ความหวังพิชิตความแก่ในมนุษย์ ใกล้เป็นจริง

นักชีวโมเลกุลแห่งโรงเรียนแพทย์ฮาวาร์ด เปิดเผยผลการทดลองที่โลกต้องตะลึง เมื่อสามารถย้อนวัยในหนูทดลอง จากหนูชราให้กลับมาเป็นหนูหนุ่มอีกครั้ง อนาคตก็ทดลองในมนุษย์อยู่ไม่ไกล
Thumb1

ลมชักในเด็ก ร้ายแรงกว่าที่คิด

หากบุตรหลานของท่านมีอาการเหม่อ กล้ามเนื้อกระตุก หมดสติ หรือมีพฤติกรรมแปลก ๆ เช่น หัวเราะโดยไม่มีเหตุผล กลัวโดยอธิบายไม่ได้ว่ากลัวอะไร ให้สงสัยไว้ก่อนว่าบุตรหลานของท่านอาจมีอาการของโรคลมชัก ที่สามารถพบได้ในเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 18 ปี และกว่าครึ่งไม่สามารถทราบสาเหตุได้
Thumb1

ถาม-ตอบ เรื่องการตรวจสารเสพติดในปัสสาวะ

การให้บริการตรวจสารเสพติดในปัสสาวะ เพื่อใช้เป็นหลักฐานทางอรรถคดี เพื่อบำบัดฟื้นฟูผู้ติด/เสพยาเสพติด เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันผู้ติด/เสพยาเสพติด
Thumb1

ผู้ป่วยไต ควร "เลือก" รับประทานอาหารอย่างไร

โครงการ "คุยเรื่องไขความจริง" โดย สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย เชิญ รศ. พญ. ปิยวรรณ กิตติสกุลนาม แพทย์ผู้เชี่ยวชาญอายุรกรรมโรคไต จากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมพูดคุยพร้อมแนะนำวิธีการปรับเปลี่ยนการรับประทานอาหารสำหรับผู้ป่วยไตเพื่อชะลอการเปลี่ยนถ่ายไตในตอน "อร่อยปาก ลำบากไต"
Thumb1

มะเร็งปอด ไม่สูบบุหรี่ก็เสี่ยงได้! ภัยร้ายเงียบที่ไม่ควรมองข้าม

ศัลแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านปอด รพ.มะเร็งกรุงเทพ วัฒโนสถ เผย โอกาสเสี่ยงจากบุหรี่ที่นอกจากโรคมะเร็งปอด ยังมีโรคอื่นๆ เช่น หัวใจ หลอดเลือด สมอง การคัดกรองมะเร็งเป็นสิ่งที่สำคัญ เพราะถ้ารู้เร็ว รักษาเร็ว ช่วยยับยั้งก่อนลุกลามได้
Thumb1

6 อาการอันตรายต่อดวงตา พบจักษุแพทย์ด่วน (รพ.เมตตาฯชวนรู้)

รพ.เมตตาฯ แนะ! ควรตรวจตาอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยปีละครั้ง การตรวจตาอย่างสม่ำเสมออาจพบโรคเรื้อรังทางกายซ่อนอยู่ ระหว่างการตรวจอาจพบโรคร้ายซึ่งอาจมีผลทำให้ตาบอด หรืออันตรายชีวิตได้ เช่น เนื้องอกในดวงตา ต้อหินเฉียบพลัน หากมีอาการทางตา เช่น ปวดตา ปวดศีรษะบ่อยๆ ตามัว ตาแดง เห็นภาพซ้อน น้ำตาไหล ตาแฉะ ควรตรวจตาให้ละเอียดว่าเป็นโรคร้ายแรงอะไรหรือไม่ บ่อยครั้งที่พบว่าผู้ป่วยเป็นต้อหิน ต้อกระจกซ่อนอยู่
Thumb1

บริโภคเนื้อแดงเหมาะสม ให้คุณประโยชน์ต่อร่างกาย

นักวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเนื้อสัตว์ ระบุว่า เนื้อแดงเป็นแหล่งของโปรตีนที่สำคัญ อุดมด้วยสารอาหารที่เป็นประโยชน์ ผู้บริโภครับประทานเนื้อแดงได้อย่างเหมาะสม ให้มีความหลากลาย หมดกังวลเรื่องที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อร่างกาย และเพื่อความปลอดภัยควรเลือกซื้อจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ เก็บอย่างถูกวิธี ปรุงสุกทุกครั้งก่อนรับประทาน
Thumb1

เมื่อหมอกระดูกเป็นโรคอัมพฤกษ์ กับคำแนะนำทางรอดจากปัจจัยเสี่ยง

คุณหมอวีรยุทธ เชาวน์ปรีชา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญกระดูกและข้อ รพ.วิภาวดี ได้เล่าถึงโรคอัมพฤกษ์ สาเหตุ การดูแลและการรักษา ในรายการสุขภาพดีกับรพ.วิภาวดี ตอน "เมื่อหมอออร์โธเป็นอัมพฤกษ์" เป็นประโยชน์มากทีเดียว โดยเฉพาะกับผู้สูงวัย
Thumb1

บุหรี่ ภัยร้าย ทำหัวใจวาย ปอดพัง - ฟังคำแนะนำดูแลปอดจากผู้เชี่ยวชาญ รพ.หัวใจกรุงเทพ

บุหรี่มีสารมากกว่า 100 ชนิด ที่ส่งผลไม่ดีต่อร่างกาย ทำให้เกิดโรคต่าง ๆ ตามมามากมาย ยิ่งสูบนานจะทำให้ยิ่งเพิ่มโรค โดยเฉพาะหัวใจและปอดเป็นอวัยวะที่ถูกบุหรี่ทำลายอย่างมาก การตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่ ไม่เริ่มสูบ หรือหากสูบไปแล้วรีบเลิกทันที อีกทั้งตรวจเช็กสุขภาพหัวใจและปอดเป็นประจำทุกปีคือเรื่องสำคัญที่ต้องใส่ใจ ฟังคำแนะนำดูแลปอดจากผู้เชี่ยวชาญ รพ.หัวใจกรุงเทพ
Thumb1

ผู้ป่วยเบาหวานกับการรับประทานอาหารในหน้าร้อน

การทานของ "เย็นๆ หวานๆ" เป็นอีกหนึ่งวิธีที่มักจะใช้ดับร้อนในช่วงที่ฤดูร้อนมาเยือน เช่นไอศกรีม น้ำหวาน น้ำอัดลม สมูทตี้ ขนมหวาน ผลไม้แช่เย็น และเครื่องดื่มแช่เย็นประเภทอื่น ๆ แต่เมื่อทานมากเกิดไปจะสามารถทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงและน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นได้ เพราะน้ำตาลและไขมันที่ค่อนข้างสูงโดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวานยิ่งต้องระวังเป็นพิเศษ